เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก โรงพยาบาล

แท็ก: โรงพยาบาล

นพ. ฟรีดริก เชเฟอร์ หรือ หมอเชเฟอร์ ร่วม วางรากฐาน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

“ฟรีดริก เชเฟอร์” หมอผู้ร่วมปลุกปั้น รพ.จุฬาฯ แต่ตายก่อนได้เห็นความสำเร็จเพียงวั...

ฟรีดริก เชเฟอร์ ชื่อนี้ในสังคมน้อยคนนักจะรู้จัก อาจเพราะกาลเวลาที่ล่วงเลยไปกว่าร้อยปี ชื่อของเขาจึงค่อยๆ เลือนหายจากความทรงจำ ทว่านามนี้กลับแจ่มชัดและ...
ผู้ป่วยโรคทางจิต

ต้นกำเนิดโรงพยาบาลโรคจิตแห่งแรกในไทย บันทึกฝรั่งชี้ สภาพน่าอับอายหลังเปิดมานาน

โรงพยาบาลจิตเวช หรือ โรงพยาบาลโรคจิต ในไทยปรากฏแรกเริ่มในสมัยรัชกาลที่ 5 ภายหลังจากการก่อตั้งโรงพยาบาลศิริราช 1 ปี นั่นคือ พ.ศ. 2432 โรงพยาบาลแห่งนี้ต...
ศิริราช โรงพยาบาลศิริราช หมอแมคฟาร์แลนด์

หมอแมคฟาร์แลนด์ “อิฐก้อนแรกของศิริราช” บันทึกเล่าการแพทย์(สมัยใหม่)ยุคบุกเบิกในไ...

หมอแมคฟาร์แลนด์ เล่าประสบการณ์ โรงเรียนแพทย์ตะวันตกยุคบุกเบิกในสมัยรัชกาลที่ 5 หมอต้องแข่งขันกันมากเพราะคนไข้เลือกรักษาได้ตามชอบจะใช้ยาไทยหรือยาฝรั่ง ...
สุขศาลา สถานีอนามัย รัฐเวชกรรม

นโยบายสร้าง “รัฐเวชกรรม” ของคณะราษฎร สู่การกำเนิด “โรงพยาบาล” ทั่วประเทศ...

นโยบายสร้าง "รัฐเวชกรรม" ของคณะราษฎร สู่การกำเนิด "โรงพยาบาล" ทั่วประเทศ ก่อนที่อิทธิพลของชาติตะวันตกจะเข้ามาสู่ระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทยนั้น ในอ...
ภาพถ่าย ตึกอำนวยการ โรงพยาบาลศิริราช

26 เมษายน 2431 กำเนิดโรงพยาบาลศิริราช

วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดโรงพยาบาล พระราชทานนามว่า “โ...
ภาพเก่า ภาพถ่าย โรงศิริราชแพทยากร ศิริราช

รากฐานการแพทย์-สาธารณสุขไทย จากยุคกรมหมอหลวง สู่โรงพยาบาลที่ราษฎรเข้าถึง

การแพทย์-สาธารณสุขไทย จากยุคกรมหมอหลวง สู่โรงพยาบาลที่ราษฎรเข้าถึง ระบบการสาธารณสุขของประเทศไทย ได้รับการยกย่องว่ามีความเข้มแข็ง เป็นอันดับต้นๆ ของ...
จิโอวานนี บัตติสตา มอร์กานญี แพทย์ ชาวอิตาลี และ ภาพวาด ลำไส้ ไส้ติ่ง

สืบจากศพ เคส “ไส้ติ่ง” ที่พลิกวงการแพทย์ เมื่อสามร้อยปีก่อน!

ชายชราชาวอิตาลีคนหนึ่งปวดท้องต่อเนื่องหลายวัน และมีอาการปวดรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ เขาจึงตัดสินใจรุดไปพบแพทย์ประจำเมือง แต่ก็เสียชีวิตอย่างกะทันหันในคืนวัน...

“บ้าก็บ้าวะ” เปิดตำนานตีตราทางสังคม วินิจฉัยโรคจิต-ประสาท ยุคสุโขทัย ถึงสมัยใหม่...

บทความนี้มีเป้าหมายเพื่อชี้ให้เห็น ประวัติการตีตราทางสังคม หรือการวินิจฉัย โรคจิตโรคประสาทของไทยที่เรียกง่ายๆ ว่า บ้าหรือโรคบ้า ตั้งแต่ครั้งโบราณจนกระ...

ขยายบริการแพทย์สู่ภูมิภาค งานแรกๆ ของคณะราษฎรหลัง 2475

หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง กิจการในลำดับแรกๆ ที่คณะราษฎรให้ความสำคัญได้แก่ การศึกษา และสาธารณสุข ในส่วนของการสาธารณสุข แนวคิดตลอดจนนโยบายในเรื่องนี้ของค...

ครบรอบ 108 ปี แห่งการสถาปนาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์แห่ง...

สถาบันบำราศนราดูร โรงพยาบาลที่มีเมรุ มีสัปเหร่อ มีบริการเผาศพ ?!?

โรงพยาบาลทั่วไปมีหน้าที่ดูแลรักษาให้ผู้ป่วยพ้นจากโรคภัยไข้เจ็บ แต่นอกจากหน้าที่ดังกล่าวแล้ว ครั้งหนึ่ง “สถาบันบำราศนราดูร” เคยมีเมรุที่ตั้งอยู่ในพื้นท...

ปัญหาสำคัญเมื่อแรกมี “โรงพยาบาลสมัยใหม่” ในสยาม

เมื่อวิทยาการและเทคโนโลยีทางการแพทย์จากตะวันตกได้รับการพิสูจน์จนเป็นที่ยอมรับของแพทย์ในราชสำนัก ไทยจึงเริ่มสร้างโรงพยาบาลสมัยใหม่ หรือโรงพยาบาลแผนปัจจ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น