เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

คำเรียกชาติพันธุ์

“แขก แม้ว แกว เจ๊ก” ที่มา-ความหมาย คำเรียกชาติพันธุ์เชิง “เหยียด”

คำเรียกชาติพันธุ์ บางคำที่ปรากฏใน “ภาษาพูด” จำนวนหนึ่งให้อารมณ์และสื่อความหมายในเชิงดูถูก หรือการ “เหยียด” แม้หลายครั้งการใช้คำเหล่านั้นไม่ใช่ความจงใจ...
อินเดีย คนอินเดีย แขก ที่ โกลกาตา

ทำไมคนไทยเรียกคนอินเดียว่า “แขก” ?

อย่างที่รู้กัน คนไทยมักมีคำเรียกแทนตัวชนชาติอื่น ๆ อยู่มากมาย เช่น ฝรั่ง ที่ใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 บัญญัติไว้ เรียก “ชนชาติผิวขาว”,...
ขบวน พาเรด นราธิวาส

“นราธิวาส” เดิมเรียกเป็นภาษามลายูว่า “เมอนารา” หรือ “เมอนารอ”

นราธิวาส เดิมเรียกเป็นภาษามลายูว่า เมอนารา หรือเมอนารอ ชาวบ้านที่เป็นไทยพุทธออกเสียงบางนรา หรือบางนาค คำว่า เมอนารา มาจากคำว่า กัวลา เมอนารา (Kuala Me...
เรือ จีน ไต้ก๋ง

เปิดความหมายคำว่า “ไต้ก๋ง” คำจีนที่ไม่ใช่ทุกคนจะเป็นได้?

“ไต้ก๋ง” ใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 บัญญัติความหมายไว้ว่า นายท้ายเรือสำเภาหรือเรือจับปลา และหากลองฟังเสียงดูหลายคนน่าจะเดาได้ว่าคำนี้มา...
หมา หมี เกี่ยวพัน ภาษาใต้

“สงขลาหอน นครหมา นราหมี” ภูมิปัญญาและอารมณ์ขันในการใช้ภาษาของชาวใต้

ภาษาใต้ แต่ละจังหวัด แม้จะอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่มักมีความแตกต่างด้วยถ้อยคำและสำเนียง ตัวอย่างชาวใต้ริมฝั่งทะเลอันดามัน เช่น ภูเก็ต พังงา และระนอง เ...
จิตร ภูมิศักดิ์ ปราสาทนครวัด ตำรวจ

“ตำรวจ” มาจากไหน? ทำไมเรียก “ตำรวจ”? ฟังจาก “จิตร ภูมิศักดิ์”

อากาศคงคา กล่าวไว้ในเรื่อง ‘ประวัติตำรวจ’ ตอนหนึ่งว่า ‘ตำรวจ’ เป็นคำที่คิดตั้งขึ้นสมัยพระเจ้าบรมไตรโลกนารถ ข้อความนี้เป็นเนื้อหาสำคัญที่จะบันทึกต่อไป...
ภาพเขียน ลายรดน้ำ เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง คน ขี้ อุจจาระ

คำศัพท์เกี่ยวกับ “ขี้” และคำเรียกสถานที่ (ขับถ่าย) ก่อนมี “ส้วม”

ว่าด้วยคำเรียกและความหมายของ “ขี้” ในสังคมไทย และชื่อ “สถานที่ขับถ่าย” แต่โบราณก่อนมาเป็นคำว่า “ส้วม” “ขี้” กับความหมายอันหลายหลาก คำว่า “ขี้” ปรากฏ...
เลขไทย

ถกหลักฐาน “เลขไทย” ได้แบบจากเลขเขมร หรือว่ามีต้นเค้าจาก “เลขอินเดียใต้”?...

"เลขไทย" ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นเลขไทย หรือได้รับแบบแผนจาก "เลขเขมร" เป็นประเด็นถกเถียงกันอยู่อย่างสนุกสนาน หลักฐานที่ดีที่สุดในการพิจารณาประวัต...
เถ้าแก่ และ เจ้าสัว คณะกรรมการ มูลนิธิ ปอเต็กตึ้ง

คำ “เถ้าแก่-เจ้าสัว” ในไทยมีที่มาอย่างไร

ทั้ง “เถ้าแก่” และ “เจ้าสัว” เป็นคำที่คนไทยคุ้นเคยกันมานาน ทั้ง 2 นี้ เป็น คำยืมจาก ภาษาจีน มาใช้ในภาษาไทยโดยออกเสียงตามสำเนียงภาษาแต้จิ๋ว คำว่า “เ...
หัวเรือใหญ่ หัวเรือ เรือแจว เรือ

“หัวเรือใหญ่” แปลว่าอะไร

"หัวเรือใหญ่" แปลว่าอะไร แต่ก่อนนี้รถ (ยนต์) ยังไม่มี, เมื่อรถยังไม่มีก็พลอยให้ถนนไม่มีไปด้วย ถนนสายแรกของกรุงเทพฯ (รวมพระนคร-ธนบุรี) เรานี้คือถนนเ...

“บักหำ” คำของผู้ใหญ่เรียกผู้น้อยอย่างเอ็นดู ทำไมผู้ชายถึงมีคำ “บัก”?...

"บักหำ" คำของผู้ใหญ่เรียกผู้น้อยอย่างเอ็นดู ทำไมผู้ชายถึงมีคำ "บัก"? คำอีสานเรียกคนผู้ชายว่า "บัก" และเรียกผู้หญิงว่า "อี่" หรือ "อี" ซึ่งเป็นการเร...
ข้าวสวย ไข่ มะเขือเทศ แตงกวา

ทำไมถึงเรียก “ข้าวสวย” และความหมายที่ควรจะเป็นของคำนี้คืออะไร?

ทำไมถึงเรียก "ข้าวสวย" และความหมายที่ควรจะเป็นของคำนี้คืออะไร? กรอบแนวคิดรวบยอด (concept) ของคนวัฒนธรรมไท มักคิดเปรียบเพื่อจําแนกสิ่งที่ตรงกันข้าม ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น