เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

ข้าวสวย ไข่ มะเขือเทศ แตงกวา

ทำไมถึงเรียก “ข้าวสวย” และความหมายที่ควรจะเป็นของคำนี้คืออะไร?

ทำไมถึงเรียก "ข้าวสวย" และความหมายที่ควรจะเป็นของคำนี้คืออะไร? กรอบแนวคิดรวบยอด (concept) ของคนวัฒนธรรมไท มักคิดเปรียบเพื่อจําแนกสิ่งที่ตรงกันข้าม ...
ชาวจีน ผัด อาหารจีน ด้วย กระทะ

คำศัพท์ “เฮงซวย” มาจากไหน? ฤๅเป็นอิทธิพลจากคนจีนย้ายถิ่น สู่คำติดปากในไทยจนถึงวั...

คำศัพท์ "เฮงซวย" มาจากไหน?  การใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันหรือในวาระอื่นๆ มีทั้งที่เป็นคำไทยแท้ และคำที่หยิบยืมมาจากภาษาอื่น ไม่ว่าจะเป็นเขมร บาลี สั...
แผนที่ เอเชียกลาง ประเทศ สถาน

เหตุใด “เอเชียกลาง” เต็มไปด้วยประเทศชื่อลงท้ายด้วย “-สถาน” ?

ภูมิภาค “เอเชียกลาง” ดินแดนตอนในของทวีปเอเชีย ไม่มีทางออกสู่มหาสมุทร หากกางแผนที่ออกดูจะพบว่า เอเชียกลาง เป็นดินแดนปิดที่อยู่ระหว่างทวีปยุโรปกับทวีปเอ...
ชาวบ้าน นราธิวาส โบก ธงชาติ ไทย

‘เจ๊ะเห’ ภาษาท้องถิ่นตากใบที่ (อาจ) เลือนหายไปกับกาลเวลา เช่นเดียวกับอีกหลายภาษา...

"เจ๊ะเห" ภาษาถิ่นตากใบ ที่ (อาจ) เลือนหายไปกับกาลเวลา เช่นเดียวกับอีกหลายภาษาในโลก? หากจะกล่าวว่า หลายภาษาในโลกมีแนวโน้มที่จะสูญพันธ์ุในอนาคตอันใกล...
หม่อมราโชทัย

คำว่า หม่อม ใช้มาตั้งแต่เมื่อใด? หม่อมแต่ละประเภทต่างกันอย่างไร?

คำว่า หม่อม เป็นมรดกทางภาษาและวัฒนธรรมของสยามประเทศมาแต่กรุงศรีอยุธยา ความปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ว่าเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธ...
ปราสาทนครวัด นครวัด กัมพูชา เขมร สมัย พระนคร

“เขมร” ไม่เรียกตัวเองว่า “ขอม” ไม่มีคำว่าขอมในภาษาเขมร คำว่า “ขอม” มาจากไหน?...

"ขอม เป็นคำภาษาไทย กลายจากภาษาเขมร ใช้เรียกกลุ่มคนพวกที่อยู่ตอนล่าง (ในไทย) บริเวณเป็นรัฐละโว้ (ลพบุรี) เมื่อเรือน พ.ศ. 1800 โดยไม่ระบุจำเพาะเผ่าพันธุ...
สตรี เจ้าครอก ในราชสำนัก จิตรกรรมฝาผนัง วัดเวฬุราชิน

ทำไมในอดีตถึงเรียกเหล่าเจ้านายผู้หญิงว่า “เจ้าครอก” ?

“เจ้าครอก” เป็นอีกสรรพนามหนึ่งที่มักได้ยินในการเรียกเจ้านายผู้หญิงหลายพระองค์ เช่น เจ้าครอกวัดโพธิ์ พระน้องนางเธอต่างพระชนนี ในรัชกาลที่ 1, เจ้าครอกฟ้...
ภาพถ่าย นครวัด หรือ พระบรมวิษณุโลก เมื่อ ค.ศ. 1866 โดย Emile Gsell

ปราสาท “บรมวิษณุโลก” เปลี่ยนมาเป็น “นครวัด” เมื่อใด ทำไม?

แม้ชื่อดั้งเดิมของศาสนสถานอันยิ่งใหญ่แห่งวัฒนธรรมลุ่มน้ำโตนเลสาบอย่างนครวัด นั่นคือ “พระบรมวิษณุโลก” ตามพระนามหลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าสุริยวรมันที...

ก่อนที่ “บวบ” จะสื่อถึง “องคชาต” บวบ (ต้ม) เคยสื่อถึง “เต้านม” มาก่อน...

ช่วงปลายเดือนมกราคม 2566 วลี "ฉันบวบ" กลายเป็นคำยอดฮิตในโลกสังคมออนไลน์ จากกรณี แพรี่ ไพรวัลย์ โพสต์แฉพระสงฆ์รูปหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์มีพฤติกรรมไม่เห...
จิตรกรรมฝาผนัง หญิงชายเกี้ยวพาราสี

สรรพลี้หวน…วรรณกรรมคำผวนที่เป็นมากกว่าเรื่องล้อเลียนของสงวน!

"สรรพลี้หวน" วรรณกรรม "คำผวน" ที่เป็นมากกว่าเรื่องล้อเลียนของสงวน นครังยังมีเท่าผีแหน กว้างยาวแสนหนึ่งคืบสืบยศถา เมืองห้างกวีรีหับระยับตา พันหญ้าคาปู...
แม่น้ำโขง กับ ตำนาน ทองคำ ติด ไม้ถ่อเรือ

ที่มาชื่อ “แม่น้ำโขง” กับตำนานทองคำติดไม้ถ่อเรือ หนุนพ่อค้าสร้างบ้านแปงเมือง

ชื่อ “แม่น้ำโขง” เป็นคำเรียกจากภาคกลางลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แต่คนพื้นเมืองในวัฒนธรรมลาวเรียกแม่น้ำนี้ว่า “น้ำของ” หรือ น้ำแม่ของ คำว่า “ของ” มีรากศัพ...
โองการแช่งน้ำ วรรณคดีไทย มี ภาษา และ วัฒนธรรม ลาว

“โองการแช่งน้ำ” วรรณคดีรากเหง้าความเป็นไทย มีร่องรอยภาษาและวัฒนธรรม “ลาว”

โองการแช่งน้ำ เป็นวรรณคดีไทยที่เชื่อว่าแต่งสมัยต้นกรุงศรีอยุธยา มีความเก่าแก่เป็นอันดับต้น ๆ และถือเป็นรากเหง้าของวรรณคดีไทยเรื่องอื่น ๆ แต่รู้หรือไม่...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น