แท็ก: วัฒนธรรม
“หมา” เริ่มเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์เมื่อไหร่? ทำไมถึงเลี้ยง?
หมา หรือ สุนัข สัตว์เลี้ยงที่ใกล้ชิดสนิทสนมกับมนุษย์มากที่สุด เจ้าของหลายท่านก็เรียกอย่างรักใคร่เอ็นดูว่า น้องหมา, น้อง...(ชื่อหมา), เค้า ฯลฯ ขณะที่ใช...
ที่มาของคำบางคำ “กินน้ำใต้ศอก”
"กินน้ำใต้ศอก" คุณฉันทิชย์ กระแสสินธุ์ เคยบอกว่า เกิดแต่การกินน้ำด้วยกระบวย. น้ำที่รั่วออกมาตรงด้ามกระบวยจะไหลมาสู่แขนแล้วสิ้นสุดหยดลงตรงปลายข้อศอก.
...
ชื่อ “ถนน” ที่ไม่ใช่แค่ชื่อ แต่สื่อถึงความสัมพันธ์ทางสังคมในวัฒนธรรมไทย
ชื่อถนน และการตั้งชื่อถนน ในกรุงเทพฯ (และว่าตามจริงก็มีเป็นเช่นนี้ในพื้นที่อื่น) มีธรรมเนียมปฏิบัติการตั้งชื่อเช่นเดียวกับบุคคล, สิ่งของ และสถานที่ โด...
ตามรอย “ควันไฟ” ความอร่อยในครัวจีน ที่มาของสำนวน “กินควันกินไฟในเมืองมนุษย์”
อาหารจีนติดอันดับเป็นหนึ่งในอาหารที่นิยมของคนทั่วโลกยอมรับในเรื่องรสชาติความอร่อย ที่มาของความอร่อยคือ "ไฟ" ที่เมื่อ "ควันไฟ" ล่องลอยขึ้นมาใน "ครัวจีน...
ชาวบ้าน “เผาผี” กันอย่างไร? ทำไมพก “มีดปาดหมาก” ไม่มี “ดอกไม้จันทน์”...
เก็บเอาเรื่อง "เผาผี" อย่างที่เคยเห็นมาเมื่อตอนเด็กมาเล่าไว้ เพราะนับแต่ผู้เขียนคล้อยหลังจากบ้านเกิดมาเพียง 20 ปี การเผาผีอย่างที่เคยรู้มาก็ไม่มีให้เห...
“สงขลาหอน นครหมา นราหมี” ภูมิปัญญาและอารมณ์ขันในการใช้ภาษาของชาวใต้
ภาษาใต้ แต่ละจังหวัด แม้จะอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่มักมีความแตกต่างด้วยถ้อยคำและสำเนียง ตัวอย่างชาวใต้ริมฝั่งทะเลอันดามัน เช่น ภูเก็ต พังงา และระนอง เ...
ทำไมคนไทยฮิตกินไข่ ดูยุค ม.จ.สิทธิพร ทำไข่ไก่เชิงการค้าคนแรก สู่สถานะ “อารยธรรมช...
อาหารที่ชาวไทยกินกันทุกวันนี้ไม่อาจปราศจากส่วนผสมของ "ไข่" ไปได้เลย ในสัปดาห์หนึ่งอย่างน้อยต้องบริโภคไข่กันสักฟองเป็นอย่างต่ำ วัฒนธรรมด้านอาหารของไทยน...
“สงกรานต์” ทำไมหญิงชายแตะเนื้อต้องตัวกันได้ สีกาสาดน้ำพระถึงกุฏิ?
บทความเกี่ยวกับ "สงกรานต์" นี้คัดเนื้อหาส่วนหนึ่งจากบทความพิเศษ "แนวการศึกษาการละเล่นทางมานุษยวิทยา ความสัมพันธ์ของพิธีกรรมกับการละเล่น" โดย ปรานี วงษ...
เมืองพระนคร (ศรีอยุธยา) ในไทย กับเมืองพระนคร ในกัมพูชา มีปวศ.ร่วมกันนับพันปีมาแล...
ไทย, ลาว, กัมพูชา มีดินแดน ต่อเนื่องกัน และมีผู้คน ปะปนเป็นเครือญาติทั้งชาติภาษาและชาติพันธุ์เดียวกัน คนไทย และความเป็นไทย มีส่วนผสมของหลายเผ่าพันธุ์ ...
ศรีศักร วัลลิโภดม” ชี้ “ผี” เป็นสถาบันความเชื่อหลักของสังคมไทย ลบให้หายไม่ได้
“…ความเชื่อเรื่อง ผี เป็นศาสนา ในโลกทัศน์ของมนุษย์นั้น สิ่งเหนือธรรมชาติเป็นความเชื่อที่เป็นจริง ให้คุณให้โทษได้ จึงมีการใช้ภาษาที่เป็นสัญลักษณ์ต่าง ๆ...
เช็งเม้ง ไหว้บรรพบุรุษผิดตัว ไม่ใช่แค่ปัญหาภาษาจีน แต่เป็นเพราะอะไร?
ปัญหาการไปไหว้บรรพบุรุษที่สุสานในเทศกาล "เช็งเม้ง" ยุคหนึ่ง คือการไหว้ผิดหลุม จนมีเรื่องเล่าจากประสบการณ์จริงของบางครอบครัวว่า ขณะที่บ้านหนึ่งกำลังรอใ...
มานุษยวิทยาว่าด้วย “ขี้” อุจจาระไม่ใช่แค่ของเสีย คือเครื่องมือทางวัฒนธรรมถึงการเ...
บทความของธีรยุทธ บุญมี เรื่อง “มานุษยวิทยาว่าด้วย 'ขี้'” เผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2550 อธิบายพฤติกรรมของคนไทยและในวัฒนธรรมอื่นที่ใช้อุจจาระหรือสิ่งของที่ร่...