เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก วัฒนธรรม

แท็ก: วัฒนธรรม

การแต่งกาย รัฐนิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม

ชาวสยามเชื่อ “ฟันดำ” ถึงจะดี เพราะอะไรถึงเปลี่ยนรสนิยมเป็นฟันขาว?

เรื่อง สีฟัน นั้น เมื่อก่อนชาวสยามเชื่อว่า "ฟันดำ" ถึงจะดี แต่เพราะอะไรถึงเปลี่ยนรสนิยมเป็น "ฟันขาว"? “ฟัน” อาวุธคู่กายสำหรับเอาชีวิตรอดของมนุษย์ ใ...
หนังตะลุง อ้ายเท่ง อ้ายหนูนุ้ย

อ้ายเท่ง อ้ายหนูนุ้ย ตัวตึงหนังตะลุง (เชื่อกันว่า) มาจากคนที่มีชีวิตอยู่จริง

ตัวละครที่คนดูชื่นชอบใน "หนังตะลุง" ต้องรวม อ้ายเท่ง อ้ายหนูนุ้ย เข้าไปด้วย ว่ากันว่าตัวตลกทั้งสองนี้มีที่มาจากผู้ที่มีชีวิตอยู่จริง เรื่องนี้ วิยุ...
พิธีเคลื่อนศพ งานศพ งันเฮือนดี

“งันเฮือนดี” งานศพคนอีสานที่ไม่โศกเศร้า จัดเต็มความม่วนกุ๊บ พร้อมสีสันแสนสดใส ไม...

เมื่อพูดถึง “งานศพ” หลายคนคงนึกถึงบรรยากาศอันอึมขรึม โศกเศร้า เต็มไปด้วยผู้คนในชุดดำ ทว่าหากย้อนไปในแถบอีสานสมัยก่อน “งานศพ” หรือที่เรียกว่า “งันเฮือน...
ประชาชน ยืน เคารพ ธงชาติ

8 กันยายน 2482 รัฐบาลออกประกาศให้คนเคารพธงชาติ

ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรัฐนิยมฉะบับที่ 4 เรื่องการเคารพ ธงชาติ, เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี ลงวันที่ 8 กันยายน 2482 มีเนื้อหาใจความว่า (หั...
ไต้ฝุ่น

เปิดข้อสันนิษฐาน “ไต้ฝุ่น” คำนี้มาจากหลายที่ทั่วโลก?

ไต้ฝุ่น คำนี้มาจากหลาย "ภาษา" ทั่วโลก? ไต้ฝุ่นจากความหมายที่ราชบัณฑิตยภาบัญญัติไว้ หมายถึง ชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดในบริเวณเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกท...
พระยาอนุมานราชธน ต้นนามสกุล เสฐียรโกเศศ

พระยาอนุมานราชธน ชี้คนไทยนับถือศาสนาบนอารมณ์-ศรัทธา มากกว่าปัญญา-เหตุผล

ในบรรดาข้าราชการที่มีอิทธิพลทางความคิดต่อสังคมไทยทั้งช่วงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว พระยาอนุมานราชธน ย่อมมีชื่อด้วยอย่าง...
กับดักสัตว์ ลิง ขวากดักลิง

“ขวาก-ลูกมะพร้าว” เครื่องมือพิชิตลิง จากดักวิธีธรรมชาติ ถึงขั้นรุนแรงแบบสุสานควา...

ขวากดักลิง ลูกมะพร้าวดักลิง เครื่องมือพิชิตลิง จากดักวิธีธรรมชาติ ถึงขั้นรุนแรงแบบสุสานความซน ผู้ที่ห่างไกลจากชีวิตบ้านป่าจะไม่คาดคิดว่า มีเครื่องม...
หญิงชาย ร่วมเพศ

ธรรมเนียม “เซ็กส์ในงานศพ” มีอยู่จริง ทำไมปรากฏกิจกรรมนี้ในบางวัฒนธรรม?...

ธรรมเนียม "เซ็กส์ในงานศพ" มีอยู่จริง ทำไมปรากฏกิจกรรมนี้ในบางวัฒนธรรม? โดยทั่วไปแล้วกิจกรรมที่ว่าด้วยการร่วมเพศมักเกิดขึ้นในพื้นที่ส่วนตัวหรือพื้นท...
นับ ศักราช

“ศักราช” คืออะไร? ทําไมเรียก “ศักราช”?

ทําไมจึงเรียกจํานวนปีที่ล่วงไปว่า ศักราช ? ตามรูปศัพท์ ศักราช หมายถึง ราชาแห่งศกะ (คือ ศากยวงศ์แห่งพระพุทธองค์) เพราะการบอกปีในสังคมอินเดียแต่ก่อน ...
ขนมจ้าง หรือ ขนมบ๊ะจ่าง วันสารทขนมจ้าง

ขนมจ้าง ในสารทเดือน 5 ที่เกี่ยวกับวีรกรรมรักชาติ และนิทานพื้นบ้าน “นางพญางูขาว”

“วันสารทขนมจ้าง” (หรือบ๊ะจ่าง) กับ “วันไหว้จันทร์” มีตำนานที่เหมือนกันก็ 2-3 ประการ 1. ขนมในเทศกาลทั้งสอง (ขนมจ้าง-ขนมไหว้พระจันทร์) เป็นที่รู้จักและช...
หมา สุนัข สัตว์เลี้ยง

“หมา” เริ่มเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์เมื่อไหร่? ทำไมถึงเลี้ยง?

หมา หรือ สุนัข สัตว์เลี้ยงที่ใกล้ชิดสนิทสนมกับมนุษย์มากที่สุด เจ้าของหลายท่านก็เรียกอย่างรักใคร่เอ็นดูว่า น้องหมา, น้อง...(ชื่อหมา), เค้า ฯลฯ ขณะที่ใช...
แขน ศอก ร่างกาย

ที่มาของคำบางคำ “กินน้ำใต้ศอก”

"กินน้ำใต้ศอก" คุณฉันทิชย์ กระแสสินธุ์ เคยบอกว่า เกิดแต่การกินน้ำด้วยกระบวย. น้ำที่รั่วออกมาตรงด้ามกระบวยจะไหลมาสู่แขนแล้วสิ้นสุดหยดลงตรงปลายข้อศอก. ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น