เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก มอญ

แท็ก: มอญ

สงกรานต์พระประแดง มอญพระประแดง หรือ มอญปากลัด ที่ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

“มอญพระประแดง” มาจากไหน?

“พระประแดง” เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นที่อยู่ของชาวมอญกลุ่มใหญ่มากว่า 200 ปี จนมีคำเรียกขานชาวมอญที่นี่ตามถิ่นฐานว่า “มอญพระประแดง” หรือ ...
นาคมอญ บวชนาค

เปิดประเพณีอันซีน “นาคมอญ” ทำไมต้องแต่งตัวสวยเป็นผู้หญิงก่อนบวช?

พุทธศาสนิกชนชาวไทยคงคุ้นกับการ “บวชนาค” อันเป็นขั้นตอนหนึ่งของการเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ ซึ่งแต่ละภูมิภาคหรือแต่ละชุมชนก็มีรายละเอียดต่างกันไป เช่น การบ...
ผู้หญิง และ เด็ก กำลังทำ ทานาคา ผิวพม่า

ทานาคา : เครื่องประทินผิวชาวลุ่มอิรวดี ที่มาของ “ผิวพม่า”

"ทานาคา" : เครื่องประทินผิวชาวลุ่มอิรวดี ที่มาของ "ผิวพม่า" คงไม่จำเป็นต้องยกสำนวน “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” มาอธิบายซ้ำแล้ว เป็นที่ชัดเจนว่าม...
ข้าวแช่ ข้าวสงกรานต์ เปิงด้าจก์ อาหารมอญ

“ข้าวสงกรานต์” อาหารชาวมอญ (ข้าวแช่) จากตำนานสงกรานต์ที่ร.3 โปรดให้จารึกที่วัดโพ...

ชาวมอญถือว่า วันสงกรานต์ เป็นวันขึ้นปีใหม่ โดยเป็นความเชื่อที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดียพร้อมๆ กับการยอมรับนับถือพุทธศาสนา "อาหารมอญ" ที่นิยมทำกันในช่วงส...
ข้าวแช่ อาหารมอญ บูชาเทวดา อาหารชาววัง

“ข้าวแช่” อาหารมอญ-ของติดสินบนเทวดา ขอให้ได้ลูก ก่อนเป็น “อาหารชาววัง”...

ข้าวแช่ มักเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นตำรับอาหารชาววัง ซึ่งปัจจุบันสามารถหากินได้ไม่ยาก ตามตลาดทั่วไปก็มี ต่างจากอดีตที่ "อาหารมอญ" ชนิดนี้ มักจะมีให้กินก...

“ธี่หยด” แปลว่าอะไร? ใช่ “ภาษามอญโบราณ” จริงหรือ?

"ธี่หยด" จากตำนานกระทู้พันทิปสุดหลอน ขยายจักรวาลสู่ นวนิยาย รายการผี และภาพยนตร์ อีกหนึ่งที่สุดเรื่องเล่าผีไทย ที่ใครได้ฟังต่างขนพองสยองเกล้า! เรื่...
ขนมจีนซาวน้ำ ขนมจีน อาหาร หน้าร้อน

ขนมจีน “ซาวน้ำ” สูตรโบราณเฉพาะครัวไทยภาคกลาง นามและรสอันเป็นปริศนา

ขนมจีนซาวน้ำ เป็นอาหารที่เหมาะกับการรับประทานในหน้าร้อน ซึ่งถ้าพูดถึงคำว่า ขนมจีน ปัจจุบันคงไม่ต้องถกเถียงกันแล้วกระมังครับ ว่าคำว่า “ขนมจีน” ในภาษาไท...
เกาะเกร็ด ชุมชนมอญ จังหวัดนนทบุรี

“มอญขวาง”: ขวางหูขวางตา ขวางทัพ อุปนิสัยหรืออวัยวะที่ว่า “ขวาง”?

“มอญขวาง” เป็นคำที่คนไทยกล่าวถึงมอญ พูดกันมานานหนักหนา ที่พูดกันไปพูดกันมามีด้วยกัน 4 เหตุที่มา คือ 1. คนมอญมีนิสัย “ขวาง” ใครพูดอะไรก็ขัดคอไปเสียห...
จำปา ลั่นทม

จำปา (ลั่นทมสยาม) เข้าสู่ไทยอย่างไร ค้นหลักฐาน ไฉนกลายเป็น “ลีลาวดี”...

พืชในบ้านเรานี้มีหลากหลายชนิด บางชนิดมีหลายชื่อเรียก และปฏิเสธได้ยากว่า "จำปา" แห่งชมพูทวีปนั้นส่งอิทธิพลต่อวัฒนธรรมในแถบเอเชีย มีชื่ออย่างจำปามอญ จำป...
พระองค์ดำ พระนเรศวร สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผมทรงกลมที่ด้านหน้า และ โกนที่ด้านหลัง จาก ภาพยนตร์ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

การเมืองเรื่องทรงผมของชายชาวหงสาวดี และพระนเรศวร

การเมืองเรื่อง "ทรงผม" ของชายชาวหงสาวดี และ "พระนเรศวร" เส้นผมของมนุษย์มีนัยยะสำคัญหลากหลายแง่มุม ดังจะเห็นว่าพราหมณ์และโยคีจะไม่ตัดผมจนตลอดชีวิต ต...
ด่านพระเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี เส้นทางเดินทัพพม่า ที่ใช้ตี เมืองไทย เชื่อมต่อ หัวเมือง มอญ

รู้จัก “มอญ 7 เมือง” ด่านตะวันตกของสยาม ในสงครามไทย-พม่า

กาญจนบุรี เป็นเมืองหน้าด่านทางตะวันตกของไทย มีเขตแดนติดต่อกับพม่าทางด่านพระเจดีย์สามองค์ ซึ่งในอดีตทั้งสองเป็น “คู่สงคราม” ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถ...
จิตรกรรมฝาผนัง เผา อยุธยา เสียกรุงครั้งที่ 2 พระเจ้าเอกทัศ ราชวงศ์ บ้านพลูหลวง

“สุกี้” นายกองมอญของอยุธยา แต่ “แปรพักตร์” ไปเข้ากับพม่า

สุกี้ คือ “เจ้าทองสุก” ผู้นำชุมชนชาว “มอญ” ค่ายโพธิ์สามต้นในสงคราม เสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 มีบทบาทในการพิชิตค่ายบางระจัน และดูแลพื้นที่กรุงเก่าหลังกรุงศร...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น