เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก มอญ

แท็ก: มอญ

จิตรกรรมฝาผนัง เผา อยุธยา เสียกรุงครั้งที่ 2 พระเจ้าเอกทัศ ราชวงศ์ บ้านพลูหลวง กรุงศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยาแตก

“สุกี้” นายกองมอญของอยุธยา แต่ “แปรพักตร์” ไปเข้ากับพม่า

สุกี้ คือ “เจ้าทองสุก” ผู้นำชุมชนชาว “มอญ” ค่ายโพธิ์สามต้นในสงคราม เสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 มีบทบาทในการพิชิตค่ายบางระจัน และดูแลพื้นที่กรุงเก่าหลังกรุงศร...
น้ำพริกกะปิ

รู้หรือไม่? “ทะแม่ง” คำฮิตติดปากคนไทยมีที่มาจากชื่อกะปิมอญ

“ทะแม่ง” หรือ “ทะแม่ง ๆ” หากค้นในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2554 จะพบว่าแปลได้ 2 ความหมาย คือ มีกลิ่นหรือรสผิดปกติ และมีลักษณะลับลมคมในหรือมีอะไร...
สงกรานต์พระประแดง มอญพระประแดง หรือ มอญปากลัด ที่ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

“มอญพระประแดง” มาจากไหน?

“พระประแดง” เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นที่อยู่ของชาวมอญกลุ่มใหญ่มากว่า 200 ปี จนมีคำเรียกขานชาวมอญที่นี่ตามถิ่นฐานว่า “มอญพระประแดง” หรือ ...
นาคมอญ บวชนาค นาค มอญ การแต่งสวยก่อนบวช

เปิดประเพณีอันซีน “นาคมอญ” ทำไมต้องแต่งตัวสวยเป็นผู้หญิงก่อนบวช?

พุทธศาสนิกชนชาวไทยคงคุ้นกับการ “บวชนาค” อันเป็นขั้นตอนหนึ่งของการเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ ซึ่งแต่ละภูมิภาคหรือแต่ละชุมชนก็มีรายละเอียดต่างกันไป เช่น การบ...
ผู้หญิง และ เด็ก กำลังทำ ทานาคา ผิวพม่า

ทานาคา : เครื่องประทินผิวชาวลุ่มอิรวดี ที่มาของ “ผิวพม่า”

"ทานาคา" : เครื่องประทินผิวชาวลุ่มอิรวดี ที่มาของ "ผิวพม่า" คงไม่จำเป็นต้องยกสำนวน “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” มาอธิบายซ้ำแล้ว เป็นที่ชัดเจนว่าม...
ข้าวแช่ อาหารชาววัง ข้าวสงกรานต์ เปิงด้าจก์ อาหารมอญ

“ข้าวสงกรานต์” อาหารชาวมอญ (ข้าวแช่) จากตำนานสงกรานต์ที่ร.3 โปรดให้จารึกที่วัดโพ...

ชาวมอญถือว่า วันสงกรานต์ เป็นวันขึ้นปีใหม่ โดยเป็นความเชื่อที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดียพร้อมๆ กับการยอมรับนับถือพุทธศาสนา "อาหารมอญ" ที่นิยมทำกันในช่วงส...
ข้าวแช่ อาหารมอญ บูชาเทวดา อาหารชาววัง

“ข้าวแช่” อาหารมอญ-ของติดสินบนเทวดา ขอให้ได้ลูก ก่อนเป็น “อาหารชาววัง”...

ข้าวแช่ มักเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นตำรับอาหารชาววัง ซึ่งปัจจุบันสามารถหากินได้ไม่ยาก ตามตลาดทั่วไปก็มี ต่างจากอดีตที่ "อาหารมอญ" ชนิดนี้ มักจะมีให้กินก...
พระองค์ดำ พระนเรศวร สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผมทรงกลมที่ด้านหน้า และ โกนที่ด้านหลัง จาก ภาพยนตร์ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

การเมืองเรื่องทรงผมของชายชาวหงสาวดี และพระนเรศวร

การเมืองเรื่อง "ทรงผม" ของชายชาวหงสาวดี และ "พระนเรศวร" เส้นผมของมนุษย์มีนัยยะสำคัญหลากหลายแง่มุม ดังจะเห็นว่าพราหมณ์และโยคีจะไม่ตัดผมจนตลอดชีวิต ต...
ด่านพระเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี เส้นทางเดินทัพพม่า ที่ใช้ตี เมืองไทย เชื่อมต่อ หัวเมือง มอญ

รู้จัก “มอญ 7 เมือง” ด่านตะวันตกของสยาม ในสงครามไทย-พม่า

กาญจนบุรี เป็นเมืองหน้าด่านทางตะวันตกของไทย มีเขตแดนติดต่อกับพม่าทางด่านพระเจดีย์สามองค์ ซึ่งในอดีตทั้งสองเป็น “คู่สงคราม” ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถ...
หมองู อินเดีย งู

โลกของงูในความเชื่ออินเดีย-กรีกโบราณ สู่ “หมองูมอญ” วิถีชีวิตจริงไม่ตัดต่อ ไม่ใช...

หมองูมอญ ไม่ได้เป็นอาชีพและมีวิถีชีวิตที่พึ่งพาหากินกับงูเหมือนชนเผ่าในอินเดีย ทว่าเป็นหน้าที่ของลูกหลานที่สืบทอดสายเลือดซึ่งมีงูเป็นสัญลักษณ์ผีประจำต...
นิ้ว จับมือ

“ตัดนิ้วตนเอง” วัฒนธรรมการประท้วงในสังคมมอญ-พม่า เมื่อ 900 กว่าปีก่อน

การประท้วงต่อต้านมีหลากหลายรูปแบบ หนึ่งในนั้นคือการ “ตัดนิ้ว” ซึ่งมีมานานหลายศตวรรษในสังคมมอญ-พม่า   เรื่องราวการประท้วงด้วยการ "ตัดนิ้ว" ตัวเอ...
พระเจ้าตาก ทรงม้าสู้ศึก ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เทศบาลเมืองตาก

กบฏมอญ ชนวนเหตุศึกนางแก้ว พระเจ้าตากรับสั่งเร่งทัพจากเชียงใหม่ลงมารับศึก

สาเหตุของสงครามครั้งนี้สืบเนื่องมาจากเกิด กบฏมอญ ขึ้นภายใต้การนำของพระยาหงสาวดี พระยาอุปราช และตละเกิง ซึ่งเป็นชาวมอญที่พ่ายแพ้ต่อพระเจ้าอลองพญา เมื่อ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น