แท็ก: ภาษาไทย
“กระดาษ” และ “สมุด” มิใช่คำไทย? มีที่มาจากไหน?
คำว่า "กระดาษ" และ "สมุด" สองคำนี้เป็นคำเก่าที่มีคนถามอยู่เนือง ๆ แสดงว่าใช้จนลืมนึกถึงที่มาของคำไม่ออก ถ้าเก็บมารวมไว้ด้วยกันก็จะช่วยความจำได้บ้าง
ใ...
“ผี” เป็นอะไรได้บ้าง? ค้นความหมายอันหลายหลากของผี จากเอกสารโบราณ
เราจะเห็นว่าความหมายของคำว่า ผี ในปัจจุบันมักมุ่งเน้นไปที่พลังงานลึกลับ ไร้ตัวตนหรือกายเนื้อ หากมีก็จะปรากฏในลักษณะของความสยดสยอง
แต่ความหมายของค...
ทำไมเรียกพิธี “ครอบครู” ทั้งที่ครู (เศียรพ่อแก่) ครอบศิษย์
“ครอบครู” คือพิธีไหว้ครู เพื่อแสดงความเคารพสักการบูชาครูบาอาจารย์ อยู่ในศาสตร์หลายแขนงโดยเฉพาะกลุ่มนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ ถือเป็นพิธีที่แพร่หลายในสั...
“จำวัด-จำพรรษา-จำศีล” ทำไมต้องจำ “จำ” คำเขมรที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย
จำวัด จำพรรษา จำศีล ทำไมต้องจำ “จำ” คำเขมรที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายคำว่า “จำ” ไว้ใน 4 ความหมายด้วยคือ (1) ก. กำหนดไว้ใ...
“ครั้งสมัยพระเจ้าเหา…” เหาไหน ใครคือ “พระเจ้าเหา” ?
เมื่อเราเอ่ยถึงสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่มีความเก่าแก่ ยาวนาน หรือเหตุการณ์ที่ผ่านมาเนิ่นนานมากแล้ว วลีเปรียบเปรยว่า “ครั้งสมัยพระเจ้าเหา” มักถูกยกมาใช้และน่า...
“แม่ร้อยชั่ง” ถึง “งามทั้งห้าไร่” สำนวนชมสาวๆ ในอดีต
สองสำนวนไทยเกี่ยวกับผู้หญิง “แม่ร้อยชั่ง” และ “งามทั้งห้าไร่” มีที่มาจากสังคมเก่า แต่วันนี้สาวไทยจะเลือกแบบไหนดี
แม่ร้อยชั่ง และงามทั้งห้าไร่ ทั้ง 2 ...
คำว่า มรสุม มาจากไหน? เปิดที่มาชื่อลมประจำฤดู 2 ชนิดของไทย
คำว่า มรสุม ลมประจำฤดูของประเทศไทย คำนี้มีที่มาจากไหน?
คำศัพท์ในข่าวพยากรณ์อากาศที่มักคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ได้ยินได้เห็นตลอดทั้งปีนั่นก็คือคำว่า มรส...
ทำไมใช้ “เผยแผ่” เมื่อเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับศาสนา ไม่ใช้ “เผยแพร่” ?
เรามีหลักการใช้ภาษาอยู่ข้อหนึ่งที่ปฏิบัติต่อ ๆ กันมาตามที่ครูบาอาจารย์และผู้รู้ทางภาษาท่านแนะนำไว้ นั่นคือการใช้คำว่า “เผยแผ่” เมื่อเกี่ยวข้องกับศาสนา...
สำนวน “ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ” หมายถึงอะไร “เจ็ดย่านน้ำ” มีอะไรบ้าง?
สำนวน “ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ” หมายถึงอะไร “เจ็ดย่านน้ำ” มีอะไรบ้าง?
สำนวน “ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ” พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายว่าเป็นภาษาปาก, เป็น...
ก่อนจะเป็น “ก. ไก่” อักษรไทยเคยเป็น ก. อะไรมาก่อน?
ก่อนจะเป็น "ก. ไก่" อักษรไทยเคยเป็น ก. อะไรมาก่อน?
ตัวอักษรไทยในความคุ้นชินของเรานั้นแยกไม่ขาดกับคำกำกับอักษร กล่าวคือ ถ้าพูดหรือนึกถึงตัวอักษร ก ก็จ...
คำว่า “จริง” ออกเสียงว่า “จิง” ไม่ออกเสียงควบกล้ำ “จร” แล้วทำไมต้องมี “ร.เรือ”
คำว่า จริง ออกเสียงว่า จิง ไม่ออกเสียงควบกล้ำ จร แล้วทำไมต้องมี ร.เรือ
ในภาษาไทยมีคำควบกล้ำแท้และไม่แท้ คำควบกล้ำไม่แท้อย่างคำว่า จริง ที่ออกเสียงว่า...
อักษรไทยมาจากไหน? อ่านฝรั่งคลั่งสยามค้นข้อมูลเรื่องที่มาของ “อักษรไทย”...
ทำไมต้องถามว่า “อักษรไทยมาจากไหน” ใครๆ รู้ว่า อักษรไทย มาจากอินเดียไม่ใช่หรือ?
เราต้องถามว่า อักษรไทย มาจากไหน เพราะเหตุหลายประการเช่น :-
1. อักษร...