เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอาทิตย์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก ภาษาไทย

แท็ก: ภาษาไทย

จาก “ฌ เฌอ” เมื่อร้อยปีก่อน ถึง “ฌ กระเฌอ” พยัญชนะไทยที่มาจากเขมร

คำพูดที่ใครยินกันบ่อยคือ “ภาพๆ หนึ่งแทนอักษรนับหมื่นคำ” หากวันนี้จะชวนมองในมุมของตัวหนังสือบ้าง เพราะตัวอักษรเพียงตัวเดียวก็บอกเล่าเรื่องราวเป็นร้อยปี...

“จิงโจ้” ภาษาไทยแต่เดิมหมายถึงนก และสัตว์ประหลาดหัวเป็นคนตัวเป็นนก

คำว่า “จิงโจ้” เป็นคำที่คนไทยใช้เรียกสัตว์หน้าท้องที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศออสเตรเลีย ที่ฝรั่งเขาเรียกกันว่า “Kangaroo” ซึ่งก็น่าแปลกที่มันเป็นสัตว์ต่าง...

สมัยอยุธยาไม่มี ไม้ตรี ( ๊ ) ไม้จัตวา ( ๋ ) และวรรณยุกต์ไม่ได้แปลว่าผันเสียง

ในตำราภาษาไทยเรา ไม้เอก (  ่ ) คือเครื่องหมายผันเสียง มีคู่กันมากับไม้โท (  ้ ) แต่สมัยอยุธยา มี 2 อันเท่านี้ในสมัยนั้น และเรียก "พิน" ไม้เอกเรียก...

ไขวลีเด็ดมาแรง “เต็มคาราเบล” มาจากไหน?

"เต็มคาราเบล" (เบล ออกเสียงโท อ่านว่า เบ้ล) วลีฮิตจาก TikTok กลายเป็นที่พูดถึงอย่างมากในช่วงไม่กี่วันนี้ เต็มคาราเบล มีที่มาจากผู้ใช้ TikTok ชื่อ @...

วัฒนธรรม “คำด่า” สมัยโบราณ ที่ขึ้นต้นด้วย “อี” มีทั้ง อีกาก, อีขี้เ-ด, อีร้อยค-ย...

หนังสือ อักขราภิธานศรับท์ ที่หมอบรัดเลย์ (Dan Beach Bradley) เป็นผู้รวบรวมและจัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2416 ได้รวบรวมคำในภาษาไทยไว้ราว 40,000 คำ และจัดคำ...

“ตำรวจ” มาจากไหน? ทำไมเรียก “ตำรวจ”? ฟังจาก “จิตร ภูมิศักดิ์”

อากาศคงคา กล่าวไว้ในเรื่อง ‘ประวัติตำรวจ’ ตอนหนึ่งว่า ‘ตำรวจ’ เป็นคำที่คิดตั้งขึ้นสมัยพระเจ้าบรมไตรโลกนารถ ข้อความนี้เป็นเนื้อหาสำคัญที่จะบันทึกต่อไป...

“ตุ่มสามโคก” หมายความว่าอย่างไร ทำไมต่อท้าย “ตุ่ม” ว่า “สามโคก” ?...

สมัยเมื่อผมเป็นเด็ก เคยได้ยินผู้ใหญ่ท่านเปรียบเปรยผู้หญิงคนหนึ่งว่า “ยายตุ่มสามโคก” นั้นก็เพราะว่าผู้หญิงคนนั้นตูดใหญ่สะโพกผาย ด้วยความด้อยประสาของ...

สำนวนสุภาษิต “ขุนนางใช่พ่อแม่…” ที่เตือนให้อย่าด่วนวางใจใคร

นิทานชาดกเรื่อง “มหาเวสสันดรชาดก” กัณฑ์ที่ 8 ที่ชื่อ “กัณฑ์กุมาร” เมื่อชูชกที่เดินทางมาขอสองกุมาร (กัณหา และชาลี) จากพระเวสสันดร เพื่อให้ไปเป็นทาสรับใ...

เหตุใดคนไทยเรียกชาวตะวันตกผิวขาวว่า “ฝรั่ง” คำนี้มีพัฒนาการมาอย่างไร...

ที่มาของคำว่า "ฝรั่ง" ในสังคมไทย ต้องสืบย้อนกลับไปถึงยุโรปในยุคกลางช่วงปลายศตวรรษที่ 5 คำนี้เกี่ยวพันโดยตรงกับบรรพชนของชาวยุโรปกลุ่มหนึ่งที่เรียกว่า "...

ไป่เยว่ : บรรพบุรุษของชนชาติไทเท่านั้นหรือ?

เรื่องราวของคนไท-คนไทย ยังคงได้รับความสนใจอยู่ตลอด จากนักวิชาการหลายฝ่ายที่พยายามสืบค้นเบาะแสหลักฐานทั้งทางวัตถุ ภาษา วัฒนธรรม ความเชื่อ ที่แม้จะเป็นช...

ทำไมคนไทยใช้คำว่า “หนู” เรียกแทนตัวเอง หรือคนอายุน้อยกว่า

คำสรรพนามในภาษาไทยมีมากมายสารพัด ไม่ว่าจะเป็น ข้า เอ็ง เรา ฉัน ท่าน เธอ คุณ ผม กู มึง ฯลฯ แต่มีคำหนึ่งคือคำว่า "หนู" ที่ดูผิดแผกจากคำอื่น เพราะเหมือนเ...

“โคมลอย” และ “ซึมทราบ” ศัพท์สแลงสมัยรัชกาลที่ 5 มีที่มาอย่างไร?...

ถ้อยคำหรือสำนวนที่เรียกว่า "ศัพท์สแลง" หรือที่ในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า "ศัพท์แผลง" เป็นศัพท์ที่เกิดขึ้นมากมายทั้งที่แพร่หลายทั่วไปและนิยมใช้กันในหมู...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น