แท็ก: ภาษาไทย
รัชกาลที่ 4 ออกประกาศ ควรใช้คำว่า “ใส่” ให้ถูกต้อง ใส่หมวก-สวมหมวก, ใส่ยา-ทายา...
ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีความลื่นไหล มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยอยู่เสมอ ช่วงไม่กี่ปีนี้มีการรณรงค์ให้ตระหนักใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง โดยเฉพาะการเขียน เพราะในโล...
“ขี้” ในมุมมานุษยวิทยา ฤๅคนไทยนำคำว่า “ขี้” มาใช้ในการควบคุมทางสังคม...
กรณีคุณอุทัย พิมพ์ใจชน นักการเมืองที่มีประวัติการต่อสู้มายาวนาน ถูกเนติบัณฑิตหนุ่มเอาถุงใส่อุจจาระปาใส่จนเปรอะเปื้อนทั้งหน้าตาและเสื้อผ้าไปหมดนั้น เหต...
ตัวพิมพ์อักษรไทย เกิดครั้งแรกในพม่า จากเชลยที่ถูกพม่าจับช่วงเสียกรุงครั้งที่ 2
หลักฐานเกี่ยวกับ “ตัวพิมพ์ไทย” ปรากฎชัดในตอนปลายรัชกาลที่ 2 ประมาณ พ.ศ. 2359 โดยการค้นคว้าของศาสตราจารย์ ขจร สุขพานิชพบว่า หมอจัดสัน (Adoniram Ju...
เมื่อคนแต้จิ๋ว (ใน) ไทยใช้ “คำยืมจากภาษาไทย” ในภาษาแต้จิ๋ว ?!?
ในแวดวงวิชาการ มีงานเขียนจำนวนไม่น้อยที่นำเสนอบทความเกี่ยวกับอิทธิพลของภาษาจีนในภาษาไทย ซึ่งภาษาที่ว่าจำนวนไม่น้อยมาจาก "ภาษาแต้จิ๋ว" นั่นเป็นเพราะคนแ...
ไขวลีเด็ดมาแรง “เต็มคาราเบล” มาจากไหน?
"เต็มคาราเบล" (เบล ออกเสียงโท อ่านว่า เบ้ล) วลีฮิตจาก TikTok กลายเป็นที่พูดถึงอย่างมากในช่วงไม่กี่วันนี้
เต็มคาราเบล มีที่มาจากผู้ใช้ TikTok ชื่อ @...
“โคมลอย” และ “ซึมทราบ” ศัพท์สแลงสมัยรัชกาลที่ 5 มีที่มาอย่างไร?...
ถ้อยคำหรือสำนวนที่เรียกว่า "ศัพท์สแลง" หรือที่ในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า "ศัพท์แผลง" เป็นศัพท์ที่เกิดขึ้นมากมายทั้งที่แพร่หลายทั่วไปและนิยมใช้กันในหมู...
กรมหมื่นนราธิปฯ กับการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย และการก่อตั้งหนังสือพิมพ์ “ประชาชาติ...
ศัพท์ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเช่นคำว่า รัฐธรรมนูญ, ประชาธิปไตย, วัฒนธรรม, สื่อสารมวลชน, นโยบาย, ปฏิวัติ ฯลฯ ไม่ใช่ศัพท์เก่าแก่ แต่เป็นศัพท์ที่ถูกบัญญัต...
ภาษาไทยเสื่อมทราม ร.5 มีพระราชดำริตั้ง “สมาคม” กวดขันดูแล
ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยซึ่งในขณะนั้นยังใช้ชื่อว่าสยามมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว อย่างที่กล่าวกันว่าเป็นช่วงเวลา “ทำให้ทันสมัย” (moderniza...
ฉ.ฉิ่งไม่ได้ตีดัง และ ช.ช้างไม่ได้วิ่งหนีเสมอไป : ความหมายของ “ก.ไก่” ที่เปลี่ยน...
ก.เอ๋ย ก.ไก่ ข.ไข่ ในเล้า บทท่องจำพยัญชนะไทยที่คนในรุ่นหนึ่งคุ้นเคยกันดี และท่องกันได้จนถึงถึง ฮ.นกฮูกตาโตแต่คนในอีกสมัยหนึ่งก็ไม่ได้ท่องแบบนี้เสมอไป
...
“มกรา-กุมภา-มีนา(มีนา)-เมษา” ชื่อเดือนแบบไทยมาจากไหน ทำไมเรียก วันจันทร์-อาทิตย์...
คำที่คนไทยใช้เรียกชื่อวัน ชื่อเดือนต่างๆ ตั้งแต่วันจันทร์ จนถึงวันศุกร์ และเดือนมกราคม จนถึงเดือนธันวาคม เหล่านี้ เคยสงสัยไหมว่า มีที่มาจากไหนกันบ้างก...
ชื่อประเทศ “ไทย” ในภาษาอังกฤษ กับความหมายที่ฟังดูไม่เป็น “สิริมงคล”
ในบทความชิ้นก่อนของผม (จาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” แล้วทำไม “ไทย” จึงต้องมี “ย”) ได้บอกเล่าความเป็นมาของการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” โดยมิไ...
รัชกาลที่ 4 “President” พระองค์แรกแห่งกรุงสยาม! กับเกร็ดการใช้คำว่า “ประธานาธิบด...
ตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ 4 ยังทรงพระผนวชได้มีโอกาสรับการศึกษา และองค์ความรู้แบบตะวันตกจากบรรดามิชชันนารีอเมริกัน จึงเป็นไปได้สูงว่าพระองค์น่าจะทรงรับรู้ถ...