แท็ก: ภาษาไทย
“มกรา-กุมภา-มีนา(มีนา)-เมษา” ชื่อเดือนแบบไทยมาจากไหน ทำไมเรียก วันจันทร์-อาทิตย์...
คำที่คนไทยใช้เรียกชื่อวัน ชื่อเดือนต่างๆ ตั้งแต่วันจันทร์ จนถึงวันศุกร์ และเดือนมกราคม จนถึงเดือนธันวาคม เหล่านี้ เคยสงสัยไหมว่า มีที่มาจากไหนกันบ้างก...
เหตุใดเรียกทะเลน้ำจืดว่า ทะเลสาบ ทําไม “ทะเล” ต้อง “สาบ” ?...
ทะเลสาบ แม้ไม่แปลความก็คงทราบกันอยู่โดยทั่วไปว่า หมายถึง ทะเลน้ำจืด แต่อาจมีบางท่านคิดไปว่าเหตุที่ จืด นั้น เพราะเป็นทะเลที่ถูก สาป กระมัง จึงได้ชื่อว...
ชื่อประเทศ “ไทย” ในภาษาอังกฤษ กับความหมายที่ฟังดูไม่เป็น “สิริมงคล”
ในบทความชิ้นก่อนของผม (จาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” แล้วทำไม “ไทย” จึงต้องมี “ย”) ได้บอกเล่าความเป็นมาของการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” โดยมิไ...
รัชกาลที่ 4 “President” พระองค์แรกแห่งกรุงสยาม! กับเกร็ดการใช้คำว่า “ประธานาธิบด...
ตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ 4 ยังทรงพระผนวชได้มีโอกาสรับการศึกษา และองค์ความรู้แบบตะวันตกจากบรรดามิชชันนารีอเมริกัน จึงเป็นไปได้สูงว่าพระองค์น่าจะทรงรับรู้ถ...
“ฯพณฯ” ที่อ่านว่า “พณะท่าน” มาจากคำว่าอะไร-ย่ออย่างไร? ทำไมมี “ฯ” ด้านหน้า-หลัง
คำว่า ฯพณฯ ที่อ่านว่า “พณะท่าน” มาจากคำว่าอะไร-ย่ออย่างไร? ทำไมมี “ฯ” ด้านหน้า-หลัง
เมื่อครั้งผมยังรับราชการอยู่นั้น มีอาจารย์ภาษาไทยท่านหนึ่งขอให้...
เขียนคำว่า “ศพ” ผิด ระวังหัวล้าน รัชกาลที่ 4 ทรงแช่ง!
ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ที่หน่วยงานราชการรวบรวมจัดเก็บนั้น บ่งบอกถึงสภาพความเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองในสมัยนั้นได้เป็นอย่างดี ...
อักษรไทยมาจากไหน? อ่านฝรั่งคลั่งสยามค้นข้อมูลเรื่องที่มาของ “อักษรไทย”...
บทนำ
ทำไมต้องถามว่า “อักษรไทยมาจากไหน” ใครๆ รู้ว่าอักษรไทยมาจากอินเดียไม่ใช่หรือ?
เราต้องถามว่า อักษรไทยมาจากไหน เพราะเหตุหลายประการเช่น :-
1. ...
“ครับ-ค่ะ” เริ่มใช้เมื่อใด ส่องการปรับ “ภาสาไทย” ฉบับจอมพล ป. เพื่อความเป็น “ไทย...
"ภาษาไทย" คือภาษาที่ไม่มีวันตายเพราะเป็นภาษาที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีพัฒนาการการสื่อสารทั้งรูปแบบอักษรและการพูดมาตั้งแต่สมัยโบราณ จนถึงปัจจุบ...
กว่าจะเป็นเมืองไทย-คนไทย-ภาษาไทย อพยพจากไหนไปไหนกันมาบ้าง
เริ่มมีเมืองไทยเมื่อไหร่? คนไทยมาจากไหน? แล้วภาษาไทยล่ะมีกำเนิดมาอย่างไร? คำถามเหล่านี้มีผู้ให้คำตอบอยู่ไม่น้อย สุจิตต์ วงษ์เทศ ก็เป็นหนึ่งในผู้ที่คำต...
วิกลิเก วิกละคร วิกหนัง วิกโน่นนี่ แล้วคําว่า “วิก” มาจากไหน
วิกลิเก, วิละคร, วิกหนัง ฯลฯ ที่เราคําว่าวิก ยังใช้กับโรงหนังด้วย เช่นพูดว่า ไปดูหนังที่วิกนั้น วิกนี้ เราใช้วิกต่อเนื่องมายาวนานตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ...
ไม้ตรี ไม้จัตวา : อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย
การยืมคำภาษาจีนมาใช้ทับศัพท์จนเป็นคำคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น ยืมคำศัพท์ฮกเกี้ยน ได้แก่ ฮ่องเต้, ฮองเฮา, ก๊ก (แคว้น, ประเทศ) ฯลฯ ศัพท์แต้จิ๋ว ได้แก่...
“เหาะเกินลงกา” สำนวนเปรียบเทียบดีจาก “รามเกียรติ์” แต่ว่าใครสั่งให้ใครเหาะ
“เหาะเกินลงกา” เห็นก็รู้ทันที่ว่าต้องมีที่มาจากวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ แต่มีความหายอย่างไร ใครสั่ง ใครเหาะนั้น คงต้องอ่านที่อาจารย์ล้อม เพ็งแก้ว ท่าน...