แท็ก: ภาษาไทย
“โคมลอย” และ “ซึมทราบ” ศัพท์สแลงสมัยรัชกาลที่ 5 มีที่มาอย่างไร?...
ถ้อยคำหรือสำนวนที่เรียกว่า "ศัพท์สแลง" หรือที่ในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า "ศัพท์แผลง" เป็นศัพท์ที่เกิดขึ้นมากมายทั้งที่แพร่หลายทั่วไปและนิยมใช้กันในหมู...
กรมหมื่นนราธิปฯ กับการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย และการก่อตั้งหนังสือพิมพ์ “ประชาชาติ...
ศัพท์ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเช่นคำว่า รัฐธรรมนูญ, ประชาธิปไตย, วัฒนธรรม, สื่อสารมวลชน, นโยบาย, ปฏิวัติ ฯลฯ ไม่ใช่ศัพท์เก่าแก่ แต่เป็นศัพท์ที่ถูกบัญญัต...
“ขุนนาง” มาจากไหน ทำไมเรียกว่าขุนนาง ศัพท์คำนี้มีความหมายอย่างไร
ขุนนาง หรือข้าราชการสมัยโบราณ ไม่มีเงินเดือนเช่นปัจจุบัน แต่ก็เป็นที่นิยมของคนไทยมาก ความนิยมดังกล่าวก็ยังคงไม่คลายมนต์ลงไปสักเท่าใด ผู้ใหญ่จึงมักอวยพ...
ภาษาไทยเสื่อมทราม ร.5 มีพระราชดำริตั้ง “สมาคม” กวดขันดูแล
ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยซึ่งในขณะนั้นยังใช้ชื่อว่าสยามมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว อย่างที่กล่าวกันว่าเป็นช่วงเวลา “ทำให้ทันสมัย” (moderniza...
“ภาษาไทย” ยังไม่มีตระกูล ภาษาไทยจัดอยู่ในตระกูลใดกันแน่?
ปัญหาเกี่ยวกับ “คนไท” ดูจะทำให้เกิดการถกเถียงในทุกแวดวงวิชาการ นอกจากคำถามยอดนิยมว่า “คนไทยมาจากไหน?” แล้ว เรื่องของ “ภาษาไทย” ก็เป็นปัญหาถกเถียงในประ...
ไขข้อสงสัยเหตุใดเรียก “สระไอ” ว่า “ไม้มลาย” คำว่ามลายมีที่มาจากไหน?
ผมได้เห็นลายพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ในหนังสือ “700 ปี ลายสือไทย” ของศาสตราจารย์กำธร สถิรกุล) ที่ทรงเรียกสระไอว่า ไม้มะไ...
คำแสดงจำนวนของไทย จาก หน่วย-สิบ-ร้อย-พัน-หมื่น-แสน-ล้าน ถึง โกฏิ-อสงไขย
ทุกวันนี้ เราจะพูดคำแสดงจำนวนที่ใช้กันว่า หน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน กันอย่างคุ้นเคย แต่หากเกินหลัก ล้าน เราก็จะพูดว่า สิบล้าน ร้อยล้าน พันล้าน...
“กระดาษ” และ “สมุด” มิใช่คำไทย? มีที่มาจากไหน?
คำว่า "กระดาษ" และ "สมุด" สองคำนี้เป็นคำเก่าที่มีคนถามอยู่เนือง ๆ แสดงว่าใช้จนลืมนึกถึงที่มาของคำไม่ออก ถ้าเก็บมารวมไว้ด้วยกันก็จะช่วยความจำได้บ้าง
...
ต้นตอคำ “โรงแรมจิ้งหรีด” หรือว่าจะมาจากปฐมเหตุที่ “สนามหลวง” ?...
วัฒนธรรมของการพลอดรักในยุคสมัยหนึ่งทำให้เกิดคำว่า "โรงแรมจิ้งหรีด" ขึ้น ว่ากันว่าเมื่อประมาณ 40-45 ปีก่อน คำนี้แพร่หลายและได้ยินกันหนาหู ซึ่งผู้เชี่ยว...
“ขี้” ในมุมมานุษยวิทยา ฤๅคนไทยนำคำว่า “ขี้” มาใช้ในการควบคุมทางสังคม...
กรณีคุณอุทัย พิมพ์ใจชน นักการเมืองที่มีประวัติการต่อสู้มายาวนาน ถูกเนติบัณฑิตหนุ่มเอาถุงใส่อุจจาระปาใส่จนเปรอะเปื้อนทั้งหน้าตาและเสื้อผ้าไปหมดนั้น เหต...
เหตุใดคำว่า “ไท” ถึงมีความหมายว่า “อิสระ” ทำไม “ไท” ต้องเติม “ย.”...
คำว่า "ไท" กับคำว่า "ไทย" ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความไว้ว่า คำว่า "ไท" หมายถึง ไทย, ผู้เป็นใหญ่, ชนชาติไท, ความมีอิสร...
ฉ.ฉิ่งไม่ได้ตีดัง และ ช.ช้างไม่ได้วิ่งหนีเสมอไป : ความหมายของ “ก.ไก่” ที่เปลี่ยน...
ก.เอ๋ย ก.ไก่ ข.ไข่ ในเล้า บทท่องจำพยัญชนะไทยที่คนในรุ่นหนึ่งคุ้นเคยกันดี และท่องกันได้จนถึงถึง ฮ.นกฮูกตาโตแต่คนในอีกสมัยหนึ่งก็ไม่ได้ท่องแบบนี้เสมอไป
...