เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก กองทัพ

แท็ก: กองทัพ

วันกลับบ้าน ของทหารที่ไปรบจริง เจ็บจริงในสงครามโลกครั้งที่ 2

กว่าทหารคนหนึ่งจะได้เป็น “นายพล” ออกรบมากี่สนาม ต้องเสี่ยงชีวิตจากการต่อสู้ และโรคภัยในพื้นที่อย่างไร? เรื่องที่จะนำเสนอต่อไปนี้เป็นบันทึกจากประสบการณ...

ดูจุดกำเนิด “สนามมวยเวทีลุมพินี” เบื้องลึกในรั้วกีฬาทหาร สู่กิจการกองทัพบก ยุคปร...

แม้ว่า "มวยไทย" จะเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวที่มีมาแต่โบราณและในปัจจุบันก็มีแข่งกันแพร่หลาย แต่หากย้อนกลับไปในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สภาพเวทีมวยเวล...

“เมืองปราจีนบุรี” ฤากษัตริย์กัมพูชาเคยเดินทัพผ่าน เมื่อคราวไปตีกรุงศรีอยุธยา!?...

เมืองโบราณในจังหวัดปราจีนบุรี ปรากฏหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางโบราณ โดยเฉพาะในฐานะที่เป็นเมืองท่ามาตั้งแต่สมัยทวารวดีแล้ว ต่อมาเมื่ออาณาจักรเขมรโบร...

การตรวจสุขภาพทหารที่จะไปร่วมรบสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่น่ามึนงง และจั๊กจี้?!?

สงครามโลกครั้งที่ 1 นั้น ตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัฐไทยส่งทหารกว่าพันนายไปร่วมรบในสงครามครั้งนั้น โดยเข้ากันฝ่ายสัมพันธมิต...

กำเนิดกองทัพสมัยใหม่ในสยาม ก่อนกลายเป็นฐานอํานาจทางการเมืองของผู้นําทหาร

การสร้างกองทัพสมัยใหม่ของสยาม เริ่มก่อตัวขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการจ้างนายทหารนอกราชการชาวอังกฤษมาเป็นครูฝึกกองทหาร...

จอมพลผิน ชุณหะวัณ เล่าปมโกง-ใต้โต๊ะ ซื้อ-ประมูลเครื่องสนามทหาร ร่มชูชีพยันผ้าเคร...

ที่ใดมีผลประโยชน์ที่นั่นย่อมมีการควบคุมดูแลระเบียบเพื่อความเรียบร้อย ตีกรอบป้องกันคนไม่ดีแสวงหาทรัพย์สินเข้าตัว นี่ย่อมเป็นหลักสากลทั่วไปในการบริหารจั...

การศึกษาเรื่องชุดเกราะของนักรบ ในประเทศไทย ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24

เกราะ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายไว้ว่า “เครื่องสวมใส่หรือเครื่องหุ้มสำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย” ซึ่งเกราะที่ใช้หุ้มส่...

ทำไมประชาชน “บริจาคเงิน” หนุนกิจการการบินของชาติอย่างคึกคัก ?

ช่วงรัชกาลที่ 6 มีการบริจาคจากประชาชนทั่วประเทศ เพื่ออุดหนุนกองทัพครั้งสำคัญด้วย 2 หน หนึ่ง คือ การซื้อ “เรือหลวงพระร่วง” หนึ่งคือ การซื้อ “เครื่องบิน...

หลัก 7 ข้อที่กองทัพจีนสมัยสามก๊กพึงปฏิบัติ มี “ที่ปรึกษาผู้มีปัญญา” ถึง “แผนกร้อ...

"สามก๊ก" ไม่เพียงเป็นวรรณกรรมจีน (อิงประวัติศาสตร์) หากแต่ยังเป็นตำราพิชัยยุทธในหลายด้าน ตั้งแต่เชิงการรบการทำสงคราม บริหารจัดการ และอื่นๆ อีกมากมาย ใ...

หลัง 2475 ปรับปรุงหน่วยทหารสนับสนุนการรบ รับมือสงครามในอนาคต

สถานการณ์ของกรมพลาธิการทหารบกเป็นไปในลักษณะเดียวกันกับกรมเสนาธิการทหารบก คือเป็นกรมใหญ่ทหารบกในกระทรวงกลาโหม ที่ถูกยุบลงจากการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพห...

จอมพล ผิน “จอมพลเจ้าน้ำตา” เผยเรื่องเล่า ผู้บังคับบัญชาสมัยก่อนดุร้าย พลทหารหนีอ...

จอมพล ผิน ชุณหะวัณ หัวหน้าคณะรัฐประหารเมื่อครั้งพ.ศ. 2490 เป็นที่จดจำในฉายานามว่า "จอมพลเจ้าน้ำตา" (บ้างก็ว่า "วีรบุรุษเจ้าน้ำตา") จากการหลั่งน้ำตาขณะ...

เบื้องหลังความคับข้องใจพระยาพหลฯ มูลเหตุปฏิวัติ เมื่อกองทัพสั่งซื้อปืนใหญ่จากฝรั...

มูลเหตุที่ทําให้ พระยาพหล พลพยุหเสนา คิดเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 มีที่มาจากความเสื่อมโทรมในระบบราชการแ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น