แท็ก: กองทัพ
หลัง 2475 ปรับปรุงหน่วยทหารสนับสนุนการรบ รับมือสงครามในอนาคต
สถานการณ์ของกรมพลาธิการทหารบกเป็นไปในลักษณะเดียวกันกับกรมเสนาธิการทหารบก คือเป็นกรมใหญ่ทหารบกในกระทรวงกลาโหม ที่ถูกยุบลงจากการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพห...
การเลี่ยงเป็นทหารของคนไทยในอดีต เหตุมอง “ทหารเกณฑ์” เป็นกลุ่มคนที่เลวทราม...
"การเกณฑ์ทหาร" ในยุคจารีตหรือรัฐโบราณของไทย คือการรวบรวมไพร่มาเป็นแรงงานให้กองทัพ ไม่มีระบบทหารอาชีพ ในอดีตไพร่จะมีสังกัดขุนนางหรือเจ้านายของตนเอง ราช...
จอมพล ผิน “จอมพลเจ้าน้ำตา” เผยเรื่องเล่า ผู้บังคับบัญชาสมัยก่อนดุร้าย พลทหารหนีอ...
จอมพล ผิน ชุณหะวัณ หัวหน้าคณะรัฐประหารเมื่อครั้งพ.ศ. 2490 เป็นที่จดจำในฉายานามว่า "จอมพลเจ้าน้ำตา" (บ้างก็ว่า "วีรบุรุษเจ้าน้ำตา") จากการหลั่งน้ำตาขณะ...
เบื้องหลังความคับข้องใจพระยาพหลฯ มูลเหตุปฏิวัติ เมื่อกองทัพสั่งซื้อปืนใหญ่จากฝรั...
มูลเหตุที่ทําให้ พระยาพหล พลพยุหเสนา คิดเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 มีที่มาจากความเสื่อมโทรมในระบบราชการแ...
พล.อ.จิร วิชิตสงคราม นายทหารผู้ปฏิเสธยศ “จอมพล” ให้ตนเอง
“จอมพล” ตำแหน่งสูงสุดของกองทัพไทย ที่ปัจจุบันไม่มีการพระราชทานยศ “จอมพล” ให้กับนายทหารทั่วไปอีกแล้ว นายทหารผู้ได้รับพระราชทานยศจอมพลคนสุดท้าย คือ จอมพ...
จอร์จ วอชิงตัน กับนโยบายสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ให้ทหาร เลี่ยงสู้ศัตรูและโรคระบาดพร้...
ระหว่างช่วงปฏิวัติอเมริกา เมื่ออาณานิคมของอเมริกาเริ่มการปฏิวัติต่อต้านจักรวรรดิอังกฤษ ศัตรูที่มองไม่เห็นก็เริ่มรุกคืบและเข้าโจมตีกองทัพอเมริกา ศัตรูห...
จอมพล ป. นายทหารที่สามัญชน ที่ได้ยศ “จอมพล” เป็นคนแรก
ในประวัติของกองทัพไทย มีนายทหารที่เป็น “สามัญชน” ซึ่งได้รับตำแหน่ง “จอมพล” ทั้งหมด 10 นาย ดังนี้
1. เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตร...
ย้อนดูชีวิต “นายร้อยหยิง” ปี 2486 นายร้อยหญิงรุ่นแรก เรียนและฝึกอะไรกัน?
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ 2485 รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และกองทัพไทยเปิดรับ “นักเรียนนายน้อยหยิง” (สะกดตามต้นฉบับ) เป็นครั้งแรกของประเทศ มีผ...
Taps เพลงแตรนอนที่เพราะจนกองทัพหลายประเทศยืมใช้
ในพิธีศพของทหารอเมริกันน้อยใหญ่ที่ผ่านสงครามมานอกจากจะมีกองเกียรติยศ ยังมีการเป่า “แตรนอน” อีกด้วย “แตรนอน” ที่ว่าเป็นเพลงที่เป่าเป็นสัญญาณว่าถึงเวลาน...
องค์กรทหาร-กึ่งทหารในไทย หวิดโดนยุบ จากข้อเสนอของอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ฝ่ายพันธมิตรได้เข้าไปจัดการเกี่ยวกับกิจการการของประเทศเยอรมนีและญี่ปุ่นที่เป็นประเทศผู้แพ้สงคราม รวมถึงประเทศไทย มี...
เตียวหุย นายทหารเจ้าโทโส โมโหร้าย ที่นำภัยมาถึงตัว
บทบรรยายแรกที่เปิดตัว “เตียวหุย” ในสามก๊กว่า “ชายสูงประมาณ 5 ศอก ศีรษะเหมือนเสือ จักษุกลมใหญ่ คางพองโต เสียงดังฟ้าร้อง กิริยาดังม้าควบ” เป็นภาพลักษณ์ท...
นำ “รูปหวิว” มาใช้ในสงครามจิตวิทยา สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ผลจริงหรือ?
“เจอสายตายั่วยวนของสาวผมบลอนด์เข้าไปอย่างนี้ ทหารหนุ่มกลัดมันที่จากบ้านจากเมือง ห่างไกลไออุ่นจากสาวๆ มานานคงจะใจอ่อนกันบ้างล่ะ (วะ)”
นี่คงเป็นความคิด...