เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก แต่งงาน

แท็ก: แต่งงาน

วิวาห์ฮินดู แต่งงาน อินเดีย

“วิวาห์ฮินดู” พิธีแต่งงานอินเดียสุดอลังการ ดั่งเทศกาลแห่งปี

ว่ากันว่า พิธีแต่งงาน ใน อินเดีย โดยเฉพาะของชาวฮินดู หรือ “วิวาห์ฮินดู” คือส่วนผสมระหว่างพิธีกรรมทางศาสนาและความเป็นคฤหัสถ์ เพราะมีครบทั้ง “ทางโลก” แล...
คลุมถุงชน รัสเซีย เจ้าสาว ร้องไห้ การแต่งงาน

“คลุมถุงชน” มาจากไหน? การแต่งงานที่ไม่ได้เริ่มต้นด้วยความรัก

คลุมถุงชน หรือการแต่งงานด้วยการจัดแจงจากพ่อแม่ หรือผู้อาวุโสของบ่าวสาว โดยที่คู่สมรสไม่จำเป็นต้องสมัครใจยินยอมกับการแต่งงานนั้นๆ ถือว่าเป็นธรรมเนียมกา...
ขนมสี่ถ้วย ขนม 4 ถ้วย ใน ละคร พรหมลิขิต

“ขนมสี่ถ้วย” ขนมหวานงานมงคล สื่อความรักที่ยืนยาว

ในละครเรื่อง “พรหมลิขิต” ซึ่งกำลังออนแอร์ผ่านช่อง 3 ปรากฏฉากหวานซึ้งกุ๊กกิ๊กของสองพระนางอย่าง “พ่อริด” (รับบทโดย โป๊ป ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ) และ “พุดตาน...
ข้าราชสำนัก ฝ่ายใน สมัยรัชกาลที่ 4

หม่อมราชวงศ์สอิ้ง ลอบได้เสียกับเสมียน ร.5 ทรงมีพระราชหัตถเลขา คบไพร่ทำให้เสื่อมเ...

ความรัก สุดอลวน หม่อมราชวงศ์สอิ้ง ลอบได้เสีย กับ "เสมียน" รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชหัตถเลขา "คบไพร่ทำให้เสื่อมเสีย" ใครบางคนเชื่อว่า พลังที่ยิ่งใหญ่ข...
ภาพ จิตรกรรม สมัยอยุธยา จากหนังสือ สมุดข่อย จัดพิมพ์โดย โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย พ.ศ. 2542

บันทึกลาลูแบร์ เผยเรื่อง “หย่าร้าง” สมัยอยุธยา ชายหญิงสยามไม่ค่อย “หึงหวง”...

บันทึก "ลาลูแบร์" เผยเรื่อง "หย่าร้าง" สมัย กรุงศรีอยุธยา ชายหญิงสยามไม่ค่อย "หึงหวง" เรื่อง หึงหวง ของชาย-หญิงยุคโบราณ สามารถศึกษาได้จากบันทึกชาวต...
เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กับ หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี

26 ส.ค. 2461 วันอภิเษกสมรส เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี

26 สิงหาคม พ.ศ. 2461 วันอภิเษกสมรส เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กับ หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี เมื่อวันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2461 พระบาทสมเด็จพระมงกุ...
ภาพถ่าย หญิง ไทย ในอดีต

ย้อนคดีอำแดงเหมือน เมื่อหญิงสาวลุกขึ้นสู้ ไม่ยอมถูกคลุมถุงชนให้ชายที่ตัวไม่รัก

คดีนี้เกิดขึ้นเมื่อ จ.ศ. 1227 (พ.ศ. 2408)... อำแดงเหมือน เป็นบุตรนายเกดกับอำแดงนุ่ม มีอายุได้ 21 ปี ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บางม่วง แขวงเมืองนนทบุรี ได้รั...

ชีวิตรักของนางงามยุคคณะราษฎร จากเวที สู่ภริยาทูต-คุณนายเหล่าทัพ-ร่วมเชื้อพระวงศ์...

“การประกวดนางงาม” นอกจากจะเป็นใบเบิกทางเข้าสู่วงการบันเทิงแล้ว ยังเป็นการเลื่อนสถานะทางสังคมรูปแบบหนึ่งให้เหล่าบรรดาสาวงามทั้งหลายมีชีวิตความเป็นอยู่ท...

ดูฐานของแนวคิดแบบ “อยู่ก่อนแต่ง” ประเพณีดั้งเดิมในไทย-อุษาคเนย์

อยู่ก่อนแต่ง เป็นประเพณีดั้งเดิมของอุษาคเนย์รวมทั้งไทย มีเหตุจาก "หญิงเป็นนาย ชายเป็นบ่าว" เป็นคำคล้องจองของตระกูลไทกะได (หรือไทย-ลาว) มีมาแต่ยุคดั้ง...
(ซ้าย) นางเอียนสี ในสามก๊ก แม่หม้ายที่โจผี แต่งเป็นภรรยาเอก (กลาง) โจผี (ขวา) โจสิด

หญิงบริสุทธิ์ไม่ใช่ประเด็นสำคัญ แม่หม้ายแต่งงานใหม่เป็น เรื่องปกติสมัยสามก๊ก

หลังจาก “กำฮูหยิน” ผู้เป็นภรรยาเอกเสียชีวิตลง เล่าปี่ได้ “ซุ่นซ่างเซียง” น้องสาวซุนกวนมาเป็นฮูหยิน (ภรรยาเอก) ภายหลังซุนกวนรับซุนฮูหยินกลับกังตั๋ง ตำแ...

ผ่าปมแต่งงานข้ามวัฒนธรรม ไทยสมรสฝรั่งยุคแรกเริ่ม อังกฤษไม่เห็นด้วยกับแนวทางใดบ้า...

ในปัจจุบัน การแต่งงานระหว่างคนไทยกับชาวต่างประเทศมีให้เห็นมากมาย อาจกล่าวได้ว่าเป็นเรื่องปกติกันไปแล้ว หากย้อนกลับไปในอดีต ยุคแรกเริ่มการแต่งงานงานข้า...

หนุ่มสาวชาวกะเหรี่ยง กับโอกาสพบปะกันในงานศพ เพื่อสานเป็นความรัก

การเริ่มต้นความสัมพันธ์ของหนุ่มสาวชาวกะเหรี่ยง ก่อนที่จะพัฒนาไปเป็นความรักนั้น ก็คล้ายกับสังคมทั่วๆ ไปในปัจจุบัน คือ ทำความรู้จักกัน เรียนรู้ดูใจซึ่งก...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น