เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก รัฐธรรมนูญ

แท็ก: รัฐธรรมนูญ

รัชกาลที่ 7 และ สมเด็จพระราชินี เสด็จพระราชดำเนิน งานฉลองรัฐธรรมนูญ

รัชกาลที่ 7 และสมเด็จพระราชินีเสด็จฯ งานฉลองรัฐธรรมนูญครั้งแรก

งานฉลองรัฐธรรมนูญ ครั้งแรกนั้น รัชกาลที่ 7 และสมเด็จพระราชินี ได้เสด็จฯ ทอดพระเนตร “...พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรร...
ชาวพระนคร ออกมาฉลอง รัฐธรรมนูญฉบับแรก วันรัฐธรรมนูญ

วันรัฐธรรมนูญ วันหยุดสำคัญยิ่งบนปฏิทินสยามยุคหนึ่ง ไม่ใช่แบบที่เห็นกันในวันนี้

วันรัฐธรรมนูญ วันหยุดสำคัญยิ่งบนปฏิทินสยามยุคหนึ่ง ไม่ใช่แบบที่เห็นกันในวันนี้ เรื่องราวเป็นอย่างไร? วันหยุดไม่ใช่แค่วันที่ไม่ต้องทำงาน หรือวันพักผ...
รัชกาลที่ 7 พระราชทาน รัฐธรรมนูญ

“10 ธันวาคม” วันรัฐธรรมนูญ กับพระราชหฤทัยร.7 จากฉบับชั่วคราวถึง “ฉบับถาวร”...

วันรัฐธรรมนูญ "10 ธันวาคม" กับพระราชหฤทัย รัชกาลที่ 7 จากฉบับชั่วคราว ถึง "ฉบับถาวร" ในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 กลุ่มคณะราษฏรได้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปก...
พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ หนึ่งใน คณะเจ้านาย ข้าราชการ คณะปฏิรูป ร.ศ. 103 ทำหนังสือ กราบบังคลทูล รัชกาลที่ 5 ปรับปรุงการปกครอง

พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ “ตกอับ” สมัย ร.5 เพราะเคยเรียกร้องประชาธิปไตย หรือด้วยเหตุอื...

พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ เป็นเชื้อพระวงศ์ที่มีชะตาชีวิตผกผันมากที่สุดพระองค์หนึ่ง เคยมีเหตุถึงขั้นที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรับสั่งว่า “...
อัมเบดการ์

“อัมเบดการ์” บิดารัฐธรรมนูญอินเดีย ใช้กฎหมายช่วยคนทุกชนชั้น

อัมเบดการ์ (Ambedkar) จัณฑาลผู้มีอุดมการณ์แรงกล้าในการต่อสู้ เพื่อสร้างสังคมอินเดียที่ปลดแอกจากระบบวรรณะ เป็นบุคคลสำคัญในการวางกรอบรัฐธรรมนูญอินเดีย จ...
พานรัฐธรรมนูญ

พานรัฐธรรมนูญ : การช่วงชิงอำนาจหลังปฏิวัติบนสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ปี 2475 คณะราษฎรพยายามเผยแพร่แนวคิดเรื่อง "รัฐธรรมนูญ" ปรากฏผ่าน "พานรัฐธรรมนูญ" เพื่อสร้างความเ...
รัฐธรรมนูญ พานรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว

27 มิถุนายน 2475 รัชกาลที่ 7 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับ “ชั่วคราว” แก่คณะราษฎร

หลังการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทางคณะราษฎรได้จัดแจงระบบระเบียบและร่างข้อกฎหมายที่เรียกว่า “พระราชบัญญ...
พระยาพหลฯ พระยาพหลพลพยุหเสนา

20 มิ.ย. 2476 พระยาพหลฯ “ยึดอำนาจ” หลังพระยามโนฯ สั่งปิดสภา ระงับใช้รธน.บางมาตรา...

20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พระยาพหลฯ ยึดอำนาจรัฐบาล หลังพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ระงับใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา “ประกาศของผู้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ ด้วยคณะ...
Great Compromise การลงนาม ในรัฐธรรมนูญ ของสหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. 1787

ความเป็นมาของ “Great Compromise” การประนีประนอมในการร่างรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา...

อ่านความเป็นมาของ Great Compromise การประนีประนอมในการร่างรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา ร่างเสร็จอย่างสมบูรณ์ในวันที่ 17 กันยาย...
รัชกาลที่ 8 ประทับรถสามล้อ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทอดพระเนตร เปิดงานฉลองรัฐธรรมนูญ 8 ธันวาคม พุทธศักราช 2481 งานฉลองรัฐธรรมนูญ สวนสราญรมย์

ในหลวง รัชกาลที่ 8 ทรงเปิดงานฉลองรัฐธรรมนูญ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8) ประทับรถสามล้อเสด็จพระราชดำเนินมาทรงทอดพระเนตรแ...
ลงนาม กฎบัตร แมกนา คาร์ตา

15 มิ.ย. 1215: กำเนิด “แมกนา คาร์ตา” กฎบัตรประกันสิทธิพลเมือง จำกัดอำนาจผู้ปกครอ...

“เสรีชนคนใดย่อมมิอาจถูกจับกุม หรือจองจำ หรือยึดทรัพย์หรือสิทธิ หรือกลายเป็นอาชญากร หรือถูกเนรเทศ หรือทำลายล้างไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ และเราจะไม่ไปหรือถู...
คณะผู้ก่อการ ร.ศ. 130 ในงานศพ 17 วีรชนปรากกบฏบวรเดชที่ท้องสนามหลวง กุมภาพันธ์ 2476 (แถวหน้าจากซ้าย) ร.ต. จรูญ ษตะเมษ ร.ต. โกย วรรณกุล ร.อ. เหล็ง ศรีจันทร์ ร.ต. ถัด รัตนพันธุ์ ร.ต. จรูญ ณ บางช้าง ร.ต. สอน วงษ์โต ร.ต. เปลี่ยน ไชยมังคละ (แถวหลังจากซ้าย) ร.ต. เหรียญ ศรีจันทร์ ร.ต. เนตร พูนวิวัฒน์ ร.ท. จือ ควกุล ร.ต. บ๋วย บุณยรัตพันธุ์ ร.ต. เขียน อุทัยกุล ร.ต. ศิริ ชุณห์ประไพ นายอุทัย เทพหัสดิน ณ อยุธยา

“ปาเลียเมนต์ (Parliament)” ในฝัน ของคณะ ร.ศ. 130

ความปรารถนาของ คณะผู้ก่อการ ร.ศ. 130 คือการจะยกระดับประเทศให้ก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศอื่น ๆ ความคิดดังกล่าวเกิดจากการศึกษาค้นคว้าหนังสือเกี่ยวกับการ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น