เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก นิทาน

แท็ก: นิทาน

ศรีธนญชัย

“ศรีธนญชัย” ตัวอย่างคนฉลาดแกมโกง ต้านอำนาจที่ขาดความชอบธรรม

ศรีธนญชัย เป็นนิทานพื้นบ้านไทย ไม่ทราบใครเป็นผู้แต่ง เพราะเป็นนิทานที่เล่าสู่กันฟังต่อเนื่องมา สันนิษฐานว่าถือกำเนิดมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นที...
ระธาตุยาคู เมืองฟ้าแดดสงยาง อ. กมลาไสย จ. กาฬสินธุ์

โศกนาฏกรรมความรัก ในตำนานพื้นเมืองแห่ง “เมืองฟ้าแดดสงยาง”

เมืองฟ้าแดดสงยาง ในเขตตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ถือเป็นเมืองโบราณที่มีความสำคัญในภาคอีสาน นอกจากจะมีร่องรอยศิลปะวัตถุ โบราณวัตถุ โบราณ...
จารึก ปู่ขุนจิตขุนจอด

“พระร่วง” ลูกนางนาค สะท้อนสัมพันธ์ร่วมเมืองน่านและกลุ่มชนลุ่มน้ำโขง

เปิดตำนาน “พระร่วง” ลูกนางนาค ใน พระราชพงศาวดารเหนือ สะท้อนสัมพันธ์ร่วม เมืองน่าน และ กลุ่มชนลุ่มน้ำโขง ตํานาน “พระร่วง” ลูกนางนาค หลักฐานประเภทตำนา...
ภาพเขียน พระลักษมี พระแม่ลักษมี มหาเทวี แห่ง ความรัก โชคลาภ

“พระแม่ลักษมี” ในเทวปกรณัม มหาเทวีผู้ทรงอานุภาพด้านความรักและโชคลาภ

นิยายเทวปกรณัมฮินดูหลายเรื่องที่นำเสนอเกี่ยวกับความรักและโชคลาภมักกล่าวถึง “พระลักษมี” พระนางคือตัวแทนของ ความรัก ความโรแมนติก โชคลาภ โดยเฉพาะที่โดดเด...
เวตาล นิทานเวตาล

ต้นตอ “นิทานเวตาล” กับลักษณะของ “เวตาล” ปีศาจช่างพูด-นักเล่าเรื่อง

นิทานเวตาล หรือ “เวตาลปัญจวิงศติ” เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณอันประกอบด้วยนิทาน 24 เรื่อง ที่เล่าโดย “เวตาล” อมนุษย์นักเล่านิทานภายในเรื่อง นิทานเวตาลนี้...
หมาจิ้งจอก ราชสีห์ สัตว์ป่า นิทานอีสป

“ลา หมาจิ้งจอก กับราชสีห์” นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า เพื่อนที่ไม่ซื่อตรงต่อเพื่...

เมื่อกล่าวถึงนิทานสอนใจ ก็ต้องยกให้ “นิทานอีสป” เพราะตอนจบของนิทานทุกเรื่องจะมีข้อสรุปเรื่องว่า “นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า...” เช่นนิทานเรื่องที่ 15 ...
ภาพวาด ชาวนา อียิปต์โบราณ อาหาร

“ชาวนาผู้มีวาทศิลป์” วรรณกรรมอียิปต์โบราณ ปราชญ์ชาวนาผู้เรียกร้องความยุติธรรมถึง...

วรรณกรรมอียิปต์โบราณที่เป็นนิทานเรื่อง "ชาวนาผู้มีวาทศิลป์" (Tale of the Eloquent Peasant) ได้รับการยกย่องว่าเป็นบทประพันธ์คลาสสิคชิ้นแรก ๆ ของสังคมมน...
สาวๆ จิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถวัดกำแพงบางจาก คลองบางหลวง

“บ่างช่างยุ” สำนวนนี้เป็นมาอย่างไร “บ่าง” คือตัวอะไร แล้วไปยุใคร ?...

"บ่างช่างยุ" เป็นสำนวนไทยที่เกิดจากคำ 3 คำ คือ บ่าง (สัตว์ป่าชนิดหนึ่ง) + ช่าง (ชอบ, นิยม) + ยุ (ยุแยง, ทำให้แตกแยก) โดยพจนานุกรม ฉบับราชยัณฑิตยสถาน พ...
อีสป

ย้อนประวัติ “อีสป” ผู้แต่งนิทานอมตะ กับคติสอนใจ “ทรราชย่อมหาเหตุแห่งการทรราชได้เ...

อีสป (Aesop) เป็นทาสชาวกรีกผู้แต่งนิทานอีสปที่ได้รับความนิยมทั่วโลกมาหลายยุคหลายสมัยยาวนานนับพันปี ประวัติของอีสปมีความคลุมเครือในหลายประเด็น เพราะขาด...

“กะเหรี่ยง” ชนเผ่านักเล่านิทาน เรื่องเล่าแสนเศร้าสะท้อนความไร้อำนาจของตนเอง

กะเหรี่ยง หรือที่ภาษาเหนือ (คำเมือง) เรียกกันว่า “ยาง” เป็นชื่อของชาวเขาเผ่าใหญ่ที่สุดซึ่งมีถิ่นฐานอยู่ในทั้งประเทศไทยและพม่า ชาวกะเหรี่ยง ในเมืองไทยส...

เรื่องเล่า “ศรีธนญชัย” ฉบับกะเหรี่ยง ที่มีชื่อว่า “จ้อ เกอะ โด่”

ในบรรดาเรื่องเล่าของชาวกะเหรี่ยง เรื่องของ “จ้อ เกอะ โด่” อยู่คู่หมู่บ้าน เล่ากันปากต่อปากมายาวนาน จนสืบค้นหาแหล่งที่มาไม่ได้ ถามคนเฒ่าคนแก่ ก็ได้รับค...
ภาพวาด "ขุนแผนทำพิธีตั้งจิตภาวนา นั่งย่างกุมารทอง" จิตรกรรมฝาผนังเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน ที่ระเบียงคดรอบวิหารหลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์ จังหวัดสุพรรณบุรี เขียนโดย เมืองสิงห์ จันทร์ฉาย

“ขุนช้างขุนแผน” เรื่องไม่มีจริง แต่เป็นนิทาน วรรณกรรม “ผู้ดี” กระฎุมพี

ขุนช้างขุนแผน มีกำเนิดและพัฒนาการเป็น “นิทาน” ของรัฐสุพรรณภูมิ ขุนช้างขุนแผนที่รู้จักปัจจุบันเป็น วรรณกรรม “ผู้ดี” กระฎุมพี ไม่ใช่วรรณกรรมสะท้อนชีวิตช...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น