แท็ก: วรรณคดี
ฉากรัก “สุดสาคร” ในวัยคะนอง โดนยั่วในชุดฤๅษี แถมล่มปากอ่าว!
อย่างที่ทราบกันว่าวรรณคดีเรื่อง “พระอภัยมณี” ของ สุนทรภู่ มีการดำเนินเรื่องที่กินเวลารวมกันหลายสิบปี คือตั้งแต่ พระอภัยมณี กับ ศรีสุวรรณ ออกไปร่ำเรียน...
“ความอาย” กับ “ความใคร่” ของ “พระเพื่อนพระแพง” แห่งลิลิตพระลอ
ลิลิตพระลอ เรื่องราวความรักของ พระลอ กับสองนาง คือ พระเพื่อนพระแพง มีปูมหลังคือความขัดแย้งระหว่างสองตระกูลของฝ่ายชายและฝ่ายหญิง เกิดเป็น “รักต้องห้าม”...
ก่อนที่ “บวบ” จะสื่อถึง “องคชาต” บวบ (ต้ม) เคยสื่อถึง “เต้านม” มาก่อน...
ช่วงปลายเดือนมกราคม 2566 วลี "ฉันบวบ" กลายเป็นคำยอดฮิตในโลกสังคมออนไลน์ จากกรณี แพรี่ ไพรวัลย์ โพสต์แฉพระสงฆ์รูปหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์มีพฤติกรรมไม่เห...
“เซ็กส์หมู่” ในลิลิตพระลอ “บทอัศจรรย์” วิจิตรกามาแห่งวรรณคดีไทย...
ลิลิตพระลอ วรรณคดีที่มีพื้นหลังเป็นดินแดนภาคเหนือของไทย สันนิษฐานว่าประพันธ์ขึ้นราว ๆ สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา หนึ่งในนิทานยุคโบราณ...
“พระเอกของเราแทบทุกเรื่องมักได้ดีโดยไม่ต้องทำอะไร” หลวงวิจิตรวาทการ มองวรรณคดี...
พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง "พระเอก" ใน รามเกียรติ์ คือ พระราม ขณะปาฐกถาเรื่อง มนุสสปฏิวัติ เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2482 ความตอนห...
นางแก้วกิริยา ในขุนช้างขุนแผน ถูก “ละเมิด-(ข่ม)ขืนกาย” แต่ถูกทำให้จำยอม!?...
นางแก้วกิริยา ธิดาพระยาสุโขทัยกับนางเพ็ญจันทร์ ในเรื่องขุนช้างขุนแผน ผู้ถูกบิดานำตัวมาขายฝากไว้กับขุนช้างเพื่อนำเงิน 15 ชั่งไปชำระหลวง พระยาสุโขทัยให้...
นางมณโฑผู้แสนเศร้า ใครเล่าจะเข้าใจ..มีลูกก็เป็นภัยแก่ผัว แถมตัวถูกลิงหลอกจับทำเม...
เมื่อพูดวรรณคดีไทย เรามักจะนึกถึงรามเกียรติ์ และเมื่อเรานึกถึงรามเกียรติ์เราก็มักจะนึกถึงตัวละครอย่างพระราม พระลักษณ์ ทศกัณฑ์ นางสีดา หนุมานและเหล่าทห...
เอ๋งติ๋งห้าว : สุดยอดของความหรรษา
ในบรรดาวรรณกรรมล้อเลียนหรือขำขัน หลายคนคงนึกไปถึงระเด่นลันได อุณรุทร้อยเรื่อง พระมะเหลเถไถ ซึ่งเป็นเรื่องที่แพร่หลายรู้จักกันไปทั่ว แต่ถ้าเอ่ยถึง “เอ๋...
สืบที่มาของ “มะม่วงหาวมะนาวโห่” ชื่อนี้ใช้เรียกอะไร แล้วมีอย่างเดียว หรือสองอย่า...
ผลิตผลทางการเกษตรไปจนถึงสมุนไพรนานาชนิดในไทยเป็นของขึ้นชื่ออย่างหนึ่ง แต่จะว่าไปแล้ว มีคำถามที่หลายคนสงสัยกันคือ สิ่งที่เรียกกันว่า "มะม่วงหาวมะนาวโห่...
“ว่าแต่เขา อิเหนาเป็นเอง” อิเหนาว่าใคร แล้วอิเหนาเป็นเหมือนใคร
สำนวน “ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง” นั้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายสำนวนนี้ว่า “ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง (สำ) ก. ตำหนิผู้อื่นเรื่องใดแล้วตน...
แนวคิด “ชาตินิยม” ใน “บทละครพูดคำกลอน เรื่องพระร่วงฯ” ของรัชกาลที่ 6...
เป็นที่ทราบกันว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระอัจฉริยภาพด้านวรรณกรรมและอักษรศาสตร์ ทรงมีพระราชนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรอง...
ฉาก Y ชาย-ชาย ใน “ลักษณวงศ์” มเหสีถึงกับหึงหวง สู่จุดจบสุดดาร์กในวรรณคดีของสุนทร...
"ลักษณวงศ์" เป็นนิทานคำกลอน ผลงานกวีนิพนธ์ของสุนทรภู่ สันนิษฐานว่า ประพันธ์ในสมัยรัชกาลที่ 3
ลักษณวงศ์ เป็นเรื่องราวของ "พระลักษณวงศ์" สามารถแบ่งได...