เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก วรรณคดี

แท็ก: วรรณคดี

แนวคิด “ชาตินิยม” ใน “บทละครพูดคำกลอน เรื่องพระร่วงฯ” ของรัชกาลที่ 6...

เป็นที่ทราบกันว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระอัจฉริยภาพด้านวรรณกรรมและอักษรศาสตร์ ทรงมีพระราชนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรอง...

ฉาก Y ชาย-ชาย ใน “ลักษณวงศ์” มเหสีถึงกับหึงหวง สู่จุดจบสุดดาร์กในวรรณคดีของสุนทร...

"ลักษณวงศ์" เป็นนิทานคำกลอน ผลงานกวีนิพนธ์ของสุนทรภู่ สันนิษฐานว่า ประพันธ์ในสมัยรัชกาลที่ 3 ลักษณวงศ์ เป็นเรื่องราวของ "พระลักษณวงศ์" สามารถแบ่งได...

ฉาก Y ในวรรณคดี เมื่อน้องชาย รูปงามเหมือนพี่สาว “อิเหนา” ก็ห้ามใจไม่ไหว...

ในวรรณคดี "อิเหนา" เป็นที่รับรู้กันดีว่า "อิเหนา" ตัวเอกของเรื่องมีนิสัย "เจ้าชู้" จนเป็นเหตุนำมาซึ่งความวุ่นวายในแดนชวา อิเหนาหลงรักสาวงาม ไม่ต่างจาก...

“เฮมมิงเวย์” นักเขียนดังกักตัวกับลูกที่ป่วย-ภรรยา และ “กิ๊ก” ในบ้านเดียวกันได้อย...

เออร์เนสต์ เฮมมิงเวย์ (Ernest Hemingway) นักเขียนดังชาวอเมริกันซึ่งมีผลงานทรงอิทธิพลมากมายเคยต้องผ่านการกักตัวพร้อมภรรยาและบุตรชาย ขณะที่ลูกชายวัยเด็ก...

“ออเจ้าโล้สำเภาเปนฤๅไม่” ภาษาเล่าบทร่วมรักอย่างอัศจรรย์ใจ นอกจาก บุพเพสันนิวาส

เมื่อคืนวาน (ช่วงพ.ศ. 2561 - กองบก.ออนไลน์) ละครบุพเพสันนิวาสได้เผยตัวอย่างของละครที่จะฉายในวันนี้ มีฉากคุณพี่ขุนได้เอ่ยประโยคว่า “ออเจ้าโล้สำเภาเป็นฤ...

สุนทรภู่ กับการเล่นแร่แปรธาตุ คิดค้นแสวงหา เหล็กไหล พระปรอท พระธาตุ ยาอายุวัฒนะ

มีวลีกล่าวขานเชิงตำหนิแกมสอนว่า “เหล็กไหล ไพลดำ พูดพล่ามเป็นบ้า คิดสรตะโสฬสนอนอดเหมือนหมา เล่นแร่แปรธาตุผ้าขาดเป็นวา” แสดงว่าในอดีตสมัยหนึ่งมีคนฝักใฝ่...

ร่องรอย “ขนบ” ทางวรรณคดีไทย ปรากฏในเพลงสมัยใหม่ “อุทยานดอกไม้”...

วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 13.30-16.30 น. ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร แล...

“นางประเเดะ” จากเรื่อง “ระเด่นลันได” งามแหวกขนบนางในวรรณคดีไทย...

นางประแดะ นางในวรรณคดีเรื่อง “ระเด่นลันได” ขึ้นชื่อว่า “งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า” คิ้วโก่งดังคันศร ใบหน้าใสผุดผ่องดังพระจันทร์ ดวงตางดงามราวตา...

“น้ำ” ในวรรณคดีทำให้เรื่อง “เพศ” ที่เป็นมุมปกปิด กลายเป็นเรื่องไม่ลับได้อย่างไร?...

เมื่อกล่าวถึง “น้ำ” ก็จะนึกถึงสิ่งที่นำมาใช้ดื่ม ใช้ชำระล้างร่างกายให้สะอาด รวมถึงสิ่งที่หล่อเลี้ยงชีวิตมนุษย์ให้อยู่รอด เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของก...

“พระนลคำหลวง” พระราชนิพนธ์ในร. 6 สู่ที่มานามปากกา “ทมยันตี” ของคุณหญิงวิมล...

"ทมยันตี" เป็นที่คุ้นชื่อเป็นอย่างดีว่าเป็นนามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ นักประพันธ์นวนิยายชื่อดังมากมาย ทั้งคู่กรรม, ทวิภพ, พิษสวาท, ดั่งดวงหฤท...

“บทอัศจรรย์” ความงดงามของ “เซ็กซ์” ในวรรณคดี

“วรรณกรรมนั้นเป็นเสมือนกระจกเงาสะท้อนสภาพสังคมและค่านิยมของสังคมนั้นๆ ที่วรรณกรรมถูกผลิตขึ้น” ฉะนั้นหากเราจะศึกษาสภาพสังคมรวมถึงค่านิยมของผู้คนในอดีตแ...

ถอดรหัส “นิ้วเพชร” จากฉบับต้นตอ “ภัสมาสุร” สู่ “นนทก 2020” ในไทยได้อย่างไร...

แม้ว่าวรรณคดีเรื่อง "รามเกียรติ์" ไม่ได้มาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ในปัจจุบันนี้คงปฏิเสธได้ยากว่าเนื้อหาของรามเกียรติ์ แพร่หลายและทรงอิทธิพ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น