เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 18 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก วรรณคดี

แท็ก: วรรณคดี

จิตรกรรมเชิงสังวาส วัดตะคุ จังหวัด นครราชสีมา

“พระเอ็ดยง” วรรณกรรมคำผวนที่ “ชกต่ำกว่าเข็มขัด” ชนิดอ่านไประแวงไป

“พระเอ็ดยง” หัสเดียมคดีของคุณสุวรรณ วรรณกรรมคำผวนที่ “ชกต่ำกว่าเข็มขัด” ชนิดอ่านไประแวงไป พระเอ็ดยง หัสเดียมคดีของคุณสุวรรณ คุณสุวรรณ กวีสตรีราชนิกุ...
ทศกัณฐ์ นางมณโฑ รามเกียรติ์ จิตรกรรม

กลศึกแนวสวาทระหว่าง “หนุมาน-นางมณโฑ-ทศกัณฐ์” พล็อตพิสดารในรามเกียรติ์?...

...ในสถานการณ์การทำศึกระหว่างกองทัพของพระรามกับฝ่ายทศกัณฐ์ที่บีบคั้นอยู่ทุกขณะ นางมณโฑ อยู่เคียงข้างพระสวามีมาโดยตลอด ให้คำแนะนำกลศึก รวมทั้งนางยังร่ว...

“พระเอกของเราแทบทุกเรื่องมักได้ดีโดยไม่ต้องทำอะไร” หลวงวิจิตรวาทการ มองวรรณคดี...

พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง "พระเอก" ใน รามเกียรติ์ คือ พระราม ขณะปาฐกถาเรื่อง มนุสสปฏิวัติ เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2482 ความตอนห...

นางมณโฑผู้แสนเศร้า ใครเล่าจะเข้าใจ..มีลูกก็เป็นภัยแก่ผัว แถมตัวถูกลิงหลอกจับทำเม...

เมื่อพูดวรรณคดีไทย เรามักจะนึกถึงรามเกียรติ์ และเมื่อเรานึกถึงรามเกียรติ์เราก็มักจะนึกถึงตัวละครอย่างพระราม พระลักษณ์ ทศกัณฑ์ นางสีดา หนุมานและเหล่าทห...

แนวคิด “ชาตินิยม” ใน “บทละครพูดคำกลอน เรื่องพระร่วงฯ” ของรัชกาลที่ 6...

เป็นที่ทราบกันว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระอัจฉริยภาพด้านวรรณกรรมและอักษรศาสตร์ ทรงมีพระราชนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรอง...

“เฮมมิงเวย์” นักเขียนดังกักตัวกับลูกที่ป่วย-ภรรยา และ “กิ๊ก” ในบ้านเดียวกันได้อย...

เออร์เนสต์ เฮมมิงเวย์ (Ernest Hemingway) นักเขียนดังชาวอเมริกันซึ่งมีผลงานทรงอิทธิพลมากมายเคยต้องผ่านการกักตัวพร้อมภรรยาและบุตรชาย ขณะที่ลูกชายวัยเด็ก...

สุนทรภู่ กับการเล่นแร่แปรธาตุ คิดค้นแสวงหา เหล็กไหล พระปรอท พระธาตุ ยาอายุวัฒนะ

มีวลีกล่าวขานเชิงตำหนิแกมสอนว่า “เหล็กไหล ไพลดำ พูดพล่ามเป็นบ้า คิดสรตะโสฬสนอนอดเหมือนหมา เล่นแร่แปรธาตุผ้าขาดเป็นวา” แสดงว่าในอดีตสมัยหนึ่งมีคนฝักใฝ่...
เสภาขุนช้างขุนแผน ขุนแผน วันทอง นางวันทอง ฉาก ใน ป่า เล่นน้ำ

ร่องรอย “ขนบ” ทางวรรณคดีไทย ปรากฏในเพลงสมัยใหม่ “อุทยานดอกไม้”...

วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 13.30-16.30 น. ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร แล...

“พระนลคำหลวง” พระราชนิพนธ์ในร. 6 สู่ที่มานามปากกา “ทมยันตี” ของคุณหญิงวิมล...

"ทมยันตี" เป็นที่คุ้นชื่อเป็นอย่างดีว่าเป็นนามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ นักประพันธ์นวนิยายชื่อดังมากมาย ทั้งคู่กรรม, ทวิภพ, พิษสวาท, ดั่งดวงหฤท...

“บทอัศจรรย์” ความงดงามของ “เซ็กซ์” ในวรรณคดี

“วรรณกรรมนั้นเป็นเสมือนกระจกเงาสะท้อนสภาพสังคมและค่านิยมของสังคมนั้นๆ ที่วรรณกรรมถูกผลิตขึ้น” ฉะนั้นหากเราจะศึกษาสภาพสังคมรวมถึงค่านิยมของผู้คนในอดีตแ...

ถอดรหัส “นิ้วเพชร” จากฉบับต้นตอ “ภัสมาสุร” สู่ “นนทก 2020” ในไทยได้อย่างไร...

แม้ว่าวรรณคดีเรื่อง "รามเกียรติ์" ไม่ได้มาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ในปัจจุบันนี้คงปฏิเสธได้ยากว่าเนื้อหาของรามเกียรติ์ แพร่หลายและทรงอิทธิพ...
จอมพล ป. พิบูลสงคราม และ ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ชม ผลผลิต การเกษตร

“วรรนคดีสาร” กับการ “ส้างชาติ” ของ จอมพล ป. ผ่านบทประพันธ์ร้อยแก้ว-ร้อยกรอง...

ในสมัยการ "ส้างชาติ" ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้านหนึ่งรัฐได้ส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยอย่างแข็งขัน โดย จอมพล ป. ได้จัดตั้ง "วรรณคดีสมาคมแห่งประเทศไทย" ข...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น