เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก รัชกาลที่ 6

แท็ก: รัชกาลที่ 6

ย่าเหล รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ข้าไม่เป็นห่วงการปั้นนักเรียน ‘ชั้นมัธยม’ ให้เป็นเทวดาเหมือนกันหมดทุกคน

“ข้าไม่เป็นห่วงการปั้นนักเรียน ‘ชั้นมัธยม’ ให้เป็นเทวดาเหมือนกันหมดทุกคน ได้คะแนนกันคนละหลายพันคะแนน เท่ากับสร้างเด็กหนุ่มที่ขยันขันแข็ง และสะอาดทั้งท...
พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย และ ผู้บริหาร แบงค์สยามกัมมาจลทุน จำกัด หรือ แบงค์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์

วิกฤติจากผู้บริหารแบงก์สยามกัมมาจล ที่เกือบทำให้แบงก์ล่ม

เมื่อทดลองการจัดตั้งธนาคารพาณิชย์ในรูปแบบ “บุคคลัภย์” จนประสบความสำเร็จ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กราบบังค...

“พระนลคำหลวง” พระราชนิพนธ์ในร. 6 สู่ที่มานามปากกา “ทมยันตี” ของคุณหญิงวิมล...

"ทมยันตี" เป็นที่คุ้นชื่อเป็นอย่างดีว่าเป็นนามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ นักประพันธ์นวนิยายชื่อดังมากมาย ทั้งคู่กรรม, ทวิภพ, พิษสวาท, ดั่งดวงหฤท...

เจ้านายที่กล้าเกาะหลังคนขับ เมื่อเครื่องบินเข้ากรุงเทพฯ ครั้งแรกยังไม่มีที่โดยสา...

การใช้งานเครื่องบินของมนุษยชาติถูกนับว่าเริ่มต้นจากสองพี่น้องตระกูล ไรท์ (Orville-Wilbur Wright) ซึ่งทำให้ "มนุษย์บินได้" (แม้บินได้ไม่นาน) ไม่กี่ปีต่...
กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ เครื่องบิน ลำแรก บินลง แผ่นดินสยาม กิจการการบิน

เครื่องบินลำแรกที่บินเข้ามาในสยามประเทศ

17 ธันวาคม 2446 สองพี่น้องตระกูล ไรท์ (Orville-Wilbur Wright) ชาวอเมริกันประสบความสำเร็จนำเครื่องบินที่สร้างขึ้นเองบินให้ชาวโลกได้นาน 12 วินาที บินสูง...

“ขบถเมืองโปรตุกัล” ภาพยนตร์ต้องห้ามในสมัยรัชกาลที่ 6

เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2453 หรือประมาณ 100 กว่าปีที่แล้ว โรงภาพยนตร์พัฒนากรโฆษณาจะฉายภาพยนตร์ต่างประเทศเรื่องหนึ่ง แต่เมื่อเรื่องนี้ไปถึงหูของเจ้าพร...

ที่ปรึกษาสมัยรัชกาลที่ 6 ลูกเขยประธานาธิบดีสหรัฐฯ เขียนถึงอนาคตสยาม

ชาวต่างชาติอีกคนหนึ่งที่เขียนบันทึกเกี่ยวกับประเทศไทย คือ ดร. ฟรานซิส บี. แซร์ บัณฑิตกฎหมายจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด บุตรเขยประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน ใ...

ต้นกำเนิดการ “นุ่งซิ่น” ของสตรีไทยสมัยรัชกาลที่ 6

นับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 แฟชันการแต่งกายของสตรีไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เนื่องด้วยอิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง โดยสตร...

การเมืองเรื่องโบยหลังทหารที่วิวาทมหาดเล็ก ชนวนร.ศ. 130 ประวัติศาสตร์ที่ถูกบิดเบื...

เรื่องการโบยหลังทหารที่ศาลาว่าการยุทธนาธิการเมื่อ ร.ศ. 128 (พ.ศ. 2452) เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ถูกกล่าวถึงกันมากว่าเป็นชนวนเหตุหนึ่งของการที่คณะนายทหารหน...

เบื้องหลัง ร.6 นำสยามร่วมสงคราม สู่วีรกรรมทหารไทยบนสมรภูมิยุโรปในสงครามโลกครั้งท...

นับแต่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้นในยุโรปใน พ.ศ. 2457 ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งมีอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซียเป็นผู้นำ กับฝ่ายมหาอำนาจกลางซึ่งประกอบด้ว...

“ระบบการศึกษา” เครื่องมือผนวก “ล้านนา” ให้กลายเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 6...

ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในสยามกำเนิดรัฐแบบใหม่ที่บริหารงานแบบรวมศูนย์ ทำให้จำเป็นต้องสลายอำนาจท้องถิ่นเพื่อดึงทรัพยากรและผู้คนมาเป็นของรัฐบาลส่วนกลาง สำหร...

ตามรอยฝรั่งสํารวจเมืองพะเยา สมัยต้นรัชกาลที่ 6

สมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2451 เรจินาลด์ เลอ เมย์ (Reginald le May) ชาวอังกฤษเดินทางเข้ามาสยาม เพื่อรับทำงานเป็นเจ้าหน้าที่สถานทูตอังกฤษ ประจำกรุง...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น