แท็ก: รัชกาลที่ 6
ระบบการศึกษาเครื่องมื่อผนวกล้านนาให้กลายเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 6
ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในสยามกำเนิดรัฐแบบใหม่ ที่บริหารงานแบบรวมศูนย์ ทำให้จำเป็นต้องสลายอำนาจ ท้องถิ่นเพื่อดึงทรัพยากรและผู้คนมาเป็นของรัฐบาลส่วนกลาง สำ...
“เรือหลวงพระร่วง” เรือรบลำแรกของไทย ร.6 พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สมทบทุน
ประเทศไทยจัดซื้อเรือรบสำหรับการป้องกันพระราชอาณาจักรทางทะเลเมื่อปีพ.ศ. 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้...
“รายงานการประชุมปาลิเมนต์สยาม” พระราชนิพนธ์ร.6 ล้อเลียน ก.ศ.ร.กุหลาบ-เทียนวรรณ?...
นักคิด นักเขียน หรือนักหนังสือพิมพ์ในยุคที่สยามตื่นตัวเรื่อง "ประชาธิปไตย" มีอยู่สองคนด้วยกันคือ ก.ศ.ร. กุหลาบ และเทียนวรรณ ที่ได้สร้างสีสันในแวดวงหนั...
ปัญหาการประทับ“พระราชยาน” จากความทรงจำของเจ้านาย
ในสมัยโบราณที่ยังไม่มียานพาหนะเช่นในปัจจุบัน การเดินทางไปยังสถาน ต่างๆ ยังต้องใช้การเดินเท้าเป็นพื้น ส่วนการเดินทางระยะไกลไปยังต่างเมือง นอกจากการเดิน...
ทำไมรัชกาลที่ 6 “น้ำตาไหลอาบหน้า” ขณะสรงพระมุรธาภิเษกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก?...
พระมหากษัตริย์ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์เกือบทุกพระองค์ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่มีรายละเอียดแตกต่างกันตามปัจจัยต่างๆ เรื่องราวเบื้องหลังที่น่าสนใจในพ...
พระอรณพนาวาณัติก์ ผู้บังคับการเรือศรีสุพรรณหงส์สมัยร.6 กับวินาทีคับขัน เรือหวิดช...
ตั้งแต่สมัยโบราณจวบจนถึงปัจจุบัน การสัญจรผ่านทางน้ำเป็นเส้นทางสำคัญในสยาม ปรากฏตัวแต่วิถีชีวิตของชาวบ้านไปจนถึงพระราชพาหนะของพระมหากษัตริย์ตั้งแต่สมัย...
ข้าราชการสมัย ร.6 เคยหยุดวันปีใหม่ (แบบเก่า) ถึงวันสงกรานต์ ยาวนานติดต่อกัน 31 ว...
วันหยุดราชการของสยามประเทศจากการค้นเอกสารเท่าที่จะหาได้ ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2457 ที่ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดวันหยุ...
“ถ้าเป็นแต่ก่อน…เขาตัดหัวมึงเจ็ดชั่วโคตร”รัชกาลที่ 6 ทรงแกล้งขู่ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ใน...
ในสังคมเก่าเจ้านายหลายพระองค์ ทรงให้การอุปการะเด็กชาย ให้ได้เรียนรู้หนังสือ และฝึกงานต่างๆ เพื่อเป็นมหาดเล็ก, ข้าราชสำนัก, ทหาร ฯลฯ ในสังกัดของเจ้านาย...
ย้อนรอย แรกมี “ปฏิทินสยาม” ดูภาพปฏิทินเก่าของนักสะสมชั้นปรมาจารย์
การพิมพ์ปฏิทินในเมืองไทย เริ่มมีในสมัยรัชกาลที่ 3 คือมีบันทึกของหมอบรัดเลย์นักสอนศาสนา ระบุว่า เมื่อ ค.ศ. 1842 หรือ พ.ศ. 2385 นั้น มีการพิมพ์ปฏิทินเป็...
วิเคราะห์คดีบทละคร “พญาระกา” หม่อมของพระเจ้าอาหนีมาวังพระเจ้าหลานจึงเป็นเรื่อง!...
เมื่อเอ่ยถึง คดีพญาระกา1 นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษา น้อยคนนักที่จะไม่รู้จัก
คดีนี้เป็นคดีสำคัญระหว่างพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปป...
ความเป็น “หญิง” ที่ถูกกีดกันออกจากการตั้ง “นามสกุล” สมัยรัชกาลที่ 6...
คนไทยใช้ "นามสกุล" มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 หลังจากมี พระราชบัญญัติขนานนามสกุล พุทธศักราช 2456 มีทั้งนามสกุลที่ได้รับพระราชทาน และนามสกุลที่สามัญชนคิด...
หลวงยงเยี่ยงครู ศิลปินโขนราชสำนักร.6 ต้องพระราชอาญา (เกือบ) ถูกประหารชีวิตบูชายั...
ดังที่ทราบกันดีแล้วว่าพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีคณะโขนหลวงอยู่ในกรมมหรสพ ศิลปินโขนที่มีฝีมือจะได้รับพระราชทานยศศักดิ์ตามบท...