เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 26 กันยายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก ภาษี

แท็ก: ภาษี

ภาพ ชาวบ้าน จิตรกรรม วัดเขียน จังหวัดอ่างทอง

“เฉ่ง” คำจีนที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดจากการ “ด่า” แต่มาจากการเก็บภาษีช่วงต้นรัตนโกสิน...

“เฉ่ง” ตามที่พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายไว้นั้น เป็นคำกริยา มีความหมายว่า ชำระเงินที่ติดค้างกันอยู่และด่า ว่า หรือทำร้ายร่างกาย แต่ถ้าหา...
ใบพลู เชี่ยนหมาก

“ใบพลู” พืชที่ชาวสยามใช้ทั่วบ้านทั่วเมือง เคยจะถูกชาวจีนเก็บภาษี แต่ ร.4 ทรงห้าม...

“ใบพลู” เป็นพืชพันธุ์ชนิดหนึ่งที่ชาวสยามมักใช้ในชีวิตประจำวัน จนชาวจีนเคยร่วมมือกับข้าราชการฝ่ายในฝ่ายนอกยื่นขอเก็บ “ภาษีใบพลู” ต่อพระบาทสมเด็จพระจอมเ...
จอมพล ป. นั่งกับ จอมพลสฤษดิ์ บนบันได

รัฐบาลจอมพล ป. จัดเก็บ “พาสีชายโสด” หวังเพิ่มประชากร

ปัจจุบัน “คนโสด” ในประเทศไทยเรียกได้ว่ามีจำนวนเพิ่มสูงขึ้น หลายคนเลือกที่จะใช้ชีวิตอยู่กับตนเอง ไม่ค่อยผูกมัดหรือมีความสัมพันธ์เหมือนสมัยก่อน ทำให้รัฐ...
ศุลกสถาน กรมศุลกากร

กำเนิด “กรมศุลกากร” หน่วยงานจัดเก็บภาษีสินค้าเข้า-ออก ดึงรายได้เข้ารัฐ...

"กรมศุลกากร" เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษีสินค้าขาเข้าขาออก เพื่อนำรายได้เข้ารัฐ มีพัฒนาการมาจากการจัดเก็บผลประโยชน์ค้าขายของรัฐในสมัยโบราณ ก่อน...
ชาวนา ควาย ไถ่นา

ภาษีนา-สวน-ไร่ สมัยกรุงธนบุรี-ต้นกรุงเทพฯ เก็บกันอย่างไร

ระบบ "ภาษี" ที่รัฐบาลเก็บจากประชาชนในสมัยกรุงธนบุรี ถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2310-97) ส่วนมากมี ผลกระทบต่อการผลิตทางเกษตรของไพร่ โดยอาจกล่าวเป็นลํ...
วัดโบสถ์มณีศรีบุญเรือง จิตรกรรมฝาผนัง สุรา

การบริโภคสุราในอดีตจวบจนต้นยุครัตนโกสินทร์ แม้ศาสนา-กฎหมายห้าม แต่ยังนิยม!?

จากบันทึกของชาวต่างชาติที่เข้ามาในสมัยนี้มักกล่าวกันว่า คนไทยแต่เดิมไม่ดื่ม "สุรา" เท่าใดนัก ดังในบันทึกของลาลูแบร์ แชรแวส และสังฆราชแห่งเบริธ กล่าวกั...
เซอร์ จอนห์เบาริ่ง สัญญาเบาริ่ง วัดปทุมวนาราม รัชกาลที่ 4

สมัย ร.4 รัฐเก็บภาษีเพิ่ม 14 ชนิด ชดเชยรายได้ที่หายไปจากสัญญาเบาริ่ง จนเกิดจลาจล...

เมื่อสยามต้องยกเลิกการผูกขาดสินค้าต่างๆ ตาม สัญญาเบาริ่ง ที่ทำกับอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2398 รัฐบาลจึงขาดรายได้จากการจัดเงินภาษีอากรจากประชาชนในประเทศเพิ่มข...
กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประทับนั่ง ถือ กล้องถ่ายรูป

กรมพระยาดำรงฯ ทรงทำเช่นไร เมื่อคลังขอให้ช่วยเรื่อง “ส่วยค้างส่ง” จากเหล่าหัวเมือ...

เมื่อ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยนั้น มีพระประสงค์จะรวมหัวเมืองบางส่วน จัดตั้งมณฑลใหม่เพิ่มอีก 4 มณฑล จึงถวายรายงานกราบ...

“ฮิตเลอร์” เสียภาษีเท่าไหร่? เผยเอกสารการเงินยุคขายหนังสือ เขม่นฝ่ายเก็บภาษี ถึง...

ไม่ว่าโลกมนุษย์จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แนวโน้มของอนาคตอันใกล้ (และอีกไกล) "ภาษี" และ "ความตาย" ยังคงเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนจะเผ...

อากรบ่อนเบี้ยในไทยมีแต่เมื่อใด ที่ผ่านมาเก็บได้มากน้อยเพียงใด

บทความนี้ คัดย่อจากพระนิพนธ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่อง “ประชุมพระราชพงษาวดาร ภาค 17 ตำนานเรื่องเลิกหวยแลบ่อนเบี้ยในกรุงสยาม” พร...

ความขัดแย้ง รัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร กรณี พ.ร.บ. ภาษีมรดก

ความขัดแย้งระหว่างรัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร นอกจากกรณี "เค้าโครงการณ์เศรษฐกิจฯ" แล้ว กรณี "พระราชบัญญัติอากรมฤดกและการรับมฤดก พุทธศักราช 2476" ก็เป็นอีก...

“ภาษีเกลือ” ภาษีแห่งความ “แค้นใจ” ในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส...

ในประเทศไทยมีการพูดถึงเรื่องการเก็บ “ภาษีความเค็ม” รัฐมีจุดประสงค์ในการเก็บภาษีดังกล่าวก็เพื่อต้องการควบคุมปริมาณเกลือที่ประชาชนได้รับในแต่ละวันให้พอด...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น