เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

ไอศกรีม-ไอติม

“ไอศกรีม-ไอติม” 2 คำนี้ แท้จริงแล้วมีความหมายไม่เหมือนกัน

เชื่อว่าหลายคนเวลาพูดถึง “ไอศกรีม-ไอติม” คงคิดว่าสองคำนี้หมายถึงของหวานรสสัมผัสเย็นแบบเดียวกัน แต่ที่จริงแล้วมีความแตกต่างกันอยู่… หลังจากไอศกรีมเร...
ทุเรียน

ทำไมเรียก “ทุเรียน”? และการเล่าขานผลไม้ที่กลิ่นเหม็นเหมือน “ขี้ซำปอกง”

ปริวัฒน์ จันทร เขียนเล่าเรื่องทุเรียนไปเมืองจีนกับซำปอกง ซึ่งเป็นคำบอกเล่าเก่าแก่ว่า คำว่า “ทุเรียน” ในภาษาจีนกลาง เจิ้งเหอ เป็นคนตั้งชื่อว่า “หลิวเหล...
เกาเหลา ปาท่องโก๋

เกาเหลา ของอร่อยที่คนไทยคุ้น แต่ไม่มีในอาหารจีน ปาท่องโก๋ ต้นฉบับก็คนละแบบ

"เกาเหลา" เป็นคำที่พบได้บ่อยในร้านขายอาหารทั้งหลายในไทยเมื่อมีผู้สั่ง "ก๋วยเตี๋ยวที่ไม่ใส่เส้น" อย่างไรก็ตาม คำนี้ไม่มีในรายชื่ออาหารจีน ขณะที่ "ปาท่อ...
ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี

“ฯพณฯ” ที่อ่านว่า “พณะท่าน” มาจากคำว่าอะไร-ย่ออย่างไร? ทำไมมี “ฯ” ด้านหน้า-หลัง

คำว่า ฯพณฯ ที่อ่านว่า “พณะท่าน” มาจากคำว่าอะไร-ย่ออย่างไร? ทำไมมี “ฯ” ด้านหน้า-หลัง เมื่อครั้งผมยังรับราชการอยู่นั้น มีอาจารย์ภาษาไทยท่านหนึ่งขอให้...
เด็ก จีน เจี๊ยะ กิน อาหาร หอเจี๊ยะ

หอเจี๊ยะ ภาษาจีนแต้จิ๋ว ไม่ได้แปลว่า “อร่อย” อย่างเดียว?!

“หอเจี๊ยะ” หนึ่งคำในเพลง “ครัวคุณต๋อย” ไม่ได้แปลว่า “อร่อย” อย่างเดียว เข้าไป Tiktok ช่วงนี้ทีไร ถ้าไม่ได้ยินเพลงเฉาก๊วยดวงฤดี เฉาก๊วยแท้ พร้อมเข้า...
สมุทรปราการ แม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบบทความ พระประแดง กัมรเตง

เปิดหลักฐานอยุธยา “พระประแดง” คำนี้มาจาก “กัมรเตง” ในภาษาเขมรโบราณ

“พระประแดง” เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ที่คนไทยส่วนมากคุ้นหู ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ “เทศกาลสงกรานต์พระประแดง” ที่มักเล่นกันอย่างสนุกสนานครึ้กคร...
แบบเรียน ภาษาไทย คำยืมภาษาจีน ไม้ตรี ไม้จัตวา

ไม้ตรี ไม้จัตวา : อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย

ไม้ตรี ไม้จัตวา ใน “คำยืมภาษาจีน” อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย คำยืมภาษาจีน มีการนำมาใช้ทับศัพท์จนเป็นคำคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น ยืมคำศัพท์ฮกเกี้ยน ไ...
สรง สรงน้ำ สรงน้ำพระ

“สรง” ใน สรงน้ำพระ คำจากภาษาเขมร

“สรง” ใน สรงน้ำ สรงน้ำพระ เป็นคำยืมมาใช้จาก “ภาษาเขมร” คำว่า “สรง” เป็นคำกริยา หมายถึง อาบน้ำ รดน้ำ ประพรม สำหรับใช้กับพระสงฆ์หรือเจ้านาย เช่น สรงพ...
ข้าราชสำนัก ฝ่ายใน สมัยรัชกาลที่ 4 กิน รับประทาน ชีวิตสาวชาววัง ราชสำนักฝ่ายใน สมัย รัชกาลที่ 4 อาหาร

ความเป็นมาของคำว่า “รับประทาน” มาจากไหน? ไฉน “ผู้ดี” ละทิ้งคำว่า กิน

เปิดความเป็นมา ของคำว่า “รับประทาน” มาจากไหน? ไฉน “ผู้ดี” ละทิ้งคำว่า กิน ความนำ ทุกชาติทุกภาษาทั่วโลกรู้จักคำว่ากิน และมีศัพท์เฉพาะเรียกกริยานั้น เ...
หาดแหลมเจริญ ปากน้ำระยอง จังหวัดระยอง

นาม “ระยอง” มีที่มาจากไหน? เป็นภาษาชองหรือมลายู?

ที่มาของชื่อ จังหวัดระยอง มีข้อสันนิษฐานว่า อาจมีที่มาจาก "ภาษาชอง" ของพวกชาติพันธุ์ชอง ซึ่งเป็นกลุ่มคนดั้งเดิมในภาคตะวันออก หรืออาจมีที่มาจาก "ภาษามล...
ศิลาจากรึกพ่อขุนรามคำแหง ศิลาจารึกหลักที่ 1 อักษรไทย

สืบราก “อักษรไทย” จากอินเดียใต้ ณ จุดประชุมพลวานรของพระราม

สืบราก “อักษรไทย” จาก อินเดียใต้ ณ จุดประชุมพลวานรของพระราม ภายหลังรัชกาลที่ 4 เมื่อครั้งยังทรงพระผนวชเป็นพระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ ทรงค้นพบศิลาจารึกหลั...
พยัญชนะไทย ฌ กระเฌอ

จาก “ฌ เฌอ” เมื่อร้อยปีก่อน ถึง “ฌ กระเฌอ” พยัญชนะไทยที่มาจากเขมร

คำพูดที่ใครยินกันบ่อยคือ “ภาพภาพหนึ่งแทนอักษรนับหมื่นคำ” หากวันนี้จะชวนมองในมุมของตัวหนังสือบ้าง เพราะตัวอักษรเพียงตัวเดียวก็บอกเล่าเรื่องราวเป็นร้อยป...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น