เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

คำว่า อับปาง

“อับปาง” เป็นคำจากภาษาจีน? อ่านข้อสันนิษฐานของพระยาอนุมานราชธน

คำว่า อับปาง เป็นคำจากภาษาจีน? อ่านข้อสันนิษฐานของพระยาอนุมานราชธน "อับปาง" แปลว่า ล่ม จม หรือแตก มักใช้แก่เรือเดินทะเล ในหนังสือ "บันทึกความรู้เรื่อ...
ข้าราชการสยาม ขุนนาง เสวก อำมาตย์ เสวกามาตย์

“เสวกามาตย์” คำเรียกขุนนางสมัยก่อน คืออะไร ต่างจาก “อำมาตย์” อย่างไร?

ยศและคำเรียกข้าราชการฝ่ายพลเรือนสมัยก่อนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยครั้ง ดังมีชื่อยศต่าง ๆ มากมายที่บ่อยครั้งเจาะจงยุคสมัย หรือมีใช้เฉพาะบางรัชกาล จนชวนใ...
จิตรกรรมฝาผนัง หญิงชายเกี้ยวพาราสี วรรณกรรมเรื่องสรรพลี้หวน

สรรพลี้หวน…วรรณกรรมคำผวนที่เป็นมากกว่าเรื่องล้อเลียนของสงวน!

วรรณกรรมเรื่องสรรพลี้หวน วรรณกรรมคำผวนที่เป็นมากกว่าเรื่องล้อเลียนของสงวน นครังยังมีเท่าผีแหน กว้างยาวแสนหนึ่งคืบสืบยศถา เมืองห้างกวีรีหับระยับตา พัน...
นักษัตร ปีนักษัตร ชื่อปีนักษัตร

ชื่อปีนักษัตรไทยมาจาก “ภาษาสหประชาชาติ” ทั้งไทย, มอญ, เขมร, จาม, จีน ฯลฯ

ชื่อปีนักษัตรไทยมาจาก “ภาษาสหประชาชาติ” ทั้งไทย, มอญ, เขมร, จาม, จีน ฯลฯ ชื่อปีนักษัตรของไทยคือ ชวด ฉลู ขาล ฯลฯ นี้ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดต...
ประกอบ เหน่อสุพรรณบุรี

สำเนียง “เหน่อ” ของสุพรรณ ที่เรียกว่า “เหน่อสุพรรณ” มาจากไหน?...

สำเนียง "เหน่อ" ของสุพรรณ ที่เรียกว่า "เหน่อสุพรรณ" มาจากไหน? เหน่อ หมายถึง เสียงพูดเพี้ยนไปจากสำเนียงที่ถูกถือว่าเป็นมาตรฐาน เช่น เสียงเหน่อ, พูดเหน...
ปราสาทพระบรมวิษณุโลก

ปราสาท “บรมวิษณุโลก” เปลี่ยนมาเป็น “นครวัด” เมื่อใด ทำไม?

ปราสาทพระบรมวิษณุโลก เปลี่ยนมาเป็น “นครวัด” เมื่อใด ทำไม? แม้ชื่อดั้งเดิมของศาสนสถานอันยิ่งใหญ่แห่งวัฒนธรรมลุ่มน้ำโตนเลสาบอย่างนครวัด นั่นคือ “พระบรม...
ปราบดาภิเษก พระมหากษัตริย์ พระราชธิดา

5 สรรพนาม – คำเรียก “พระเจ้าแผ่นดิน” ของไทย แต่โบราณ

เปิด 5 คำเรียกพระเจ้าแผ่นดินของไทยแต่โบราณ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงนิพนธ์เรื่องคำเรียกพระเจ้าแผ่นดินไทยแต่โบราณไว้ใน หนังสือ...
เถ้าแก่ และ เจ้าสัว คณะกรรมการ มูลนิธิ ปอเต็กตึ้ง คำว่า เถ้าแก่-เจ้าสัว

คำ “เถ้าแก่-เจ้าสัว” ในไทยมีที่มาอย่างไร

คำว่า เถ้าแก่-เจ้าสัว ในไทยมีที่มาอย่างไร ทั้ง “เถ้าแก่” และ “เจ้าสัว” เป็นคำที่คนไทยคุ้นเคยกันมานาน ทั้ง 2 นี้ เป็น คำยืมจากภาษาจีน มาใช้ในภาษาไทยโด...
โจร ผู้ร้าย คำว่าอ้ายเสือ

ความลับของคำว่า “อ้ายเสือ” หมายถึงโจรที่ต้องมีคุณธรรมจริงหรือ?

คำว่าอ้ายเสือ หมายถึงโจรที่ต้องมีคุณธรรมจริงหรือ? “อ้ายเสือ” มีความหมายว่าอย่างไร ก่อนอื่นต้องดูถึงสังคมไทยที่มีสำนวน ภาษิต คำพังเพยมากมายที่มีคำว่า ...
หมา หมี เกี่ยวพัน ภาษาใต้ สงขลาหอน นครหมา นราหมี

“สงขลาหอน นครหมา นราหมี” ภูมิปัญญาและอารมณ์ขันในการใช้ภาษาของชาวใต้

"สงขลาหอน นครหมา นราหมี" ภูมิปัญญาและอารมณ์ขันในการใช้ภาษาของชาวใต้ ภาษาใต้ แต่ละจังหวัด แม้จะอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่มักมีความแตกต่างด้วยถ้อยคำและส...
จิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถวัดไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง ประกอบ คำแสดงจำนวน

คำแสดงจำนวนของไทย จาก หน่วย-สิบ-ร้อย-พัน-หมื่น-แสน-ล้าน ถึง โกฏิ-อสงไขย

ทุกวันนี้ เราจะพูด คำแสดงจำนวน ที่ใช้กันว่า หน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน กันอย่างคุ้นเคย แต่หากเกินหลัก ล้าน เราก็จะพูดว่า สิบล้าน ร้อยล้าน พันล้...
รถเก๋ง รถยนต์ สมัยรัชกาลที่ 6 บริเวณ ถนนเจริญกรุง สี่กั๊กพระยาศรี รถกูบ

คนไทยคุ้นกับคำ “รถเก๋ง” แต่สมัยก่อนยังมีคำว่า “รถกูบ”…รถกูบ คืออะไร?...

คำเรียกพาหนะ หรือ รถ ที่คนไทยสมัยใหม่คุ้นเคยอย่างดีย่อมต้องมีคำว่า รถเก๋ง แต่สมัยก่อนมีคำที่เลิศไม่แพ้กันอย่าง รถกูบ … รถกูบ คืออะไร? รถเก๋ง คำนี้...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น