แท็ก: ภาษาจีน
“แมนดาริน” คืออะไร? ทำไมเรียกภาษาจีนกลางว่า “แมนดาริน”
แมนดาริน คืออะไร? ทำไมเรียกภาษาจีนกลางว่า แมนดาริน
ภาษาจีนกลาง เป็นภาษากลางและภาษาราชการของประเทศจีน แต่ชาวตะวันตกเรียกว่า ภาษาแมนดาริน (Mandarin Lan...
“หลี” ในคำว่า “หลีสาว” มีที่มาจากไหน ?
คำว่า "หลี" แปลว่าอะไร? คำว่า "หลี" ใน "หลีสาว" มีที่มาจากไหน ?
"หลี" ในภาษาจีนมีหลายคำเช่น "หลี" ที่เป็นแซ่หนึ่งของจีน อันเป็นแซ่ของพระจักรพรรดิ...
“ครั้งสมัยพระเจ้าเหา…” เหาไหน ใครคือ “พระเจ้าเหา” ?
เมื่อเราเอ่ยถึงสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่มีความเก่าแก่ ยาวนาน หรือเหตุการณ์ที่ผ่านมาเนิ่นนานมากแล้ว วลีเปรียบเปรยว่า “ครั้งสมัยพระเจ้าเหา” มักถูกยกมาใช้และน่า...
“แชบ๊วย” ภาษาแต้จิ๋ว ทำไมกลายเป็นชื่อพันธุ์กุ้ง?
“กุ้งแชบ๊วย” คือกุ้งทะเลชนิดหนึ่ง ไม่ใช่ “กุ้งแช่บ๊วย” หรือการเอากุ้งไป “แช่” บ๊วยแต่อย่างใด แล้ว “แชบ๊วย” แปลว่าอะไร ทำไมมาเป็นชื่อกุ้ง?
กุ้งแชบ๊ว...
เป็น “คางทูม” ทำไมต้องเขียนเสือไว้ที่แก้ม
"คางทูม" เป็นโรคติดต่อที่พบได้ทั่วโลก วิธีการรักษาส่วนใหญ่ก็ไปพบแพทย์รับการรักษาตามอาการของโรค ส่วนในประเทศไทย นอกจากการรักษาโดยแพทย์แผนปัจจุบัน ยังมี...
เกาเหลา ของอร่อยที่คนไทยคุ้น แต่ไม่มีในอาหารจีน ปาท่องโก๋ ต้นฉบับก็คนละแบบ
"เกาเหลา" เป็นคำที่พบได้บ่อยในร้านขายอาหารทั้งหลายในไทยเมื่อมีผู้สั่ง "ก๋วยเตี๋ยวที่ไม่ใส่เส้น" อย่างไรก็ตาม คำนี้ไม่มีในรายชื่ออาหารจีน ขณะที่ "ปาท่อ...
ไม้ตรี ไม้จัตวา : อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย
ไม้ตรี ไม้จัตวา ใน “คำยืมภาษาจีน” อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย
คำยืมภาษาจีน มีการนำมาใช้ทับศัพท์จนเป็นคำคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น ยืมคำศัพท์ฮกเกี้ยน ไ...
รู้หรือไม่? ซีรีส์จีน-ภาพยนตร์จีน ฯลฯ ทำไมต้องมีซับไตเติลภาษาจีน
เคยสังเกตไหมว่า ซีรีส์จีน, ภาพยนตร์จีน, รายการสารคดี, รายการเพลง ฯลฯ ของจีน จะมี ซับไตเติลภาษาจีน หรือคำบรรยายภาษาจีน ขณะที่รายการแบบเดียวกันจากประเทศ...
เช็งเม้ง ไหว้บรรพบุรุษผิดตัว ไม่ใช่แค่ปัญหาภาษาจีน แต่เป็นเพราะอะไร?
ปัญหาการไปไหว้บรรพบุรุษที่สุสานในเทศกาล "เช็งเม้ง" ยุคหนึ่ง คือการไหว้ผิดหลุม จนมีเรื่องเล่าจากประสบการณ์จริงของบางครอบครัว
ขณะที่บ้านหนึ่งกำลังรอใ...
ทำไมคนไทยใช้คำว่า “หนู” เรียกแทนตัวเอง หรือคนอายุน้อยกว่า
คำสรรพนามในภาษาไทยมีมากมายสารพัด ไม่ว่าจะเป็น ข้า เอ็ง เรา ฉัน ท่าน เธอ คุณ ผม กู มึง ฯลฯ แต่มีคำหนึ่งคือคำว่า "หนู" ที่ดูผิดแผกจากคำอื่น เพราะเหมือนเ...
เปิดความหมายคำว่า “ไต้ก๋ง” คำจีนที่ไม่ใช่ทุกคนจะเป็นได้?
“ไต้ก๋ง” ใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 บัญญัติความหมายไว้ว่า นายท้ายเรือสำเภาหรือเรือจับปลา และหากลองฟังเสียงดูหลายคนน่าจะเดาได้ว่าคำนี้มา...
ภาษาแต้จิ๋ว เคยเป็นภาษาในแวดวงธุรกิจไทย ใครพูดได้เถ้าแก่รับทำงาน
หากย้อนกลับไป 50-60 ปีก่อน หรือมากกว่านั้น แวดวงธุรกิจของสังคมไทยจำนวนไม่น้อยใช้ภาษาจีนล้วนๆ หรือภาษาไทยคำจีนคำ ในการสื่อสาร แต่ภาษาจีนที่ว่า ไม่ใช่ภา...