เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก ภาษาจีน

แท็ก: ภาษาจีน

เกาเหลา ปาท่องโก๋

เกาเหลา ของอร่อยที่คนไทยคุ้น แต่ไม่มีในอาหารจีน ปาท่องโก๋ ต้นฉบับก็คนละแบบ

"เกาเหลา" เป็นคำที่พบได้บ่อยในร้านขายอาหารทั้งหลายในไทยเมื่อมีผู้สั่ง "ก๋วยเตี๋ยวที่ไม่ใส่เส้น" อย่างไรก็ตาม คำนี้ไม่มีในรายชื่ออาหารจีน ขณะที่ "ปาท่อ...
แบบเรียน ภาษาไทย คำยืมภาษาจีน ไม้ตรี ไม้จัตวา

ไม้ตรี ไม้จัตวา : อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย

ไม้ตรี ไม้จัตวา ใน “คำยืมภาษาจีน” อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย คำยืมภาษาจีน มีการนำมาใช้ทับศัพท์จนเป็นคำคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น ยืมคำศัพท์ฮกเกี้ยน ไ...
ซับไตเติลภาษาจีน ใน ซีรีส์จีน

รู้หรือไม่? ซีรีส์จีน-ภาพยนตร์จีน ฯลฯ ทำไมต้องมีซับไตเติลภาษาจีน

เคยสังเกตไหมว่า ซีรีส์จีน, ภาพยนตร์จีน, รายการสารคดี, รายการเพลง ฯลฯ ของจีน จะมี ซับไตเติลภาษาจีน หรือคำบรรยายภาษาจีน ขณะที่รายการแบบเดียวกันจากประเทศ...
หลุมศพ สุสานจีน ชลบุรี วันเช็งเม้ง

เช็งเม้ง ไหว้บรรพบุรุษผิดตัว ไม่ใช่แค่ปัญหาภาษาจีน แต่เป็นเพราะอะไร?

ปัญหาการไปไหว้บรรพบุรุษที่สุสานในเทศกาล "เช็งเม้ง" ยุคหนึ่ง คือการไหว้ผิดหลุม จนมีเรื่องเล่าจากประสบการณ์จริงของบางครอบครัว ขณะที่บ้านหนึ่งกำลังรอใ...
หนู

ทำไมคนไทยใช้คำว่า “หนู” เรียกแทนตัวเอง หรือคนอายุน้อยกว่า

คำสรรพนามในภาษาไทยมีมากมายสารพัด ไม่ว่าจะเป็น ข้า เอ็ง เรา ฉัน ท่าน เธอ คุณ ผม กู มึง ฯลฯ แต่มีคำหนึ่งคือคำว่า "หนู" ที่ดูผิดแผกจากคำอื่น เพราะเหมือนเ...
ไข่เจียว เจียว พรหมลิขิต โป๊ป เบลล่า

คนใดที่ถูกเจียว! “ไข่เจียว” เมนูกินง่ายขวัญใจคนไทย “เจียว” ในที่นี้คือภาษาอะไร

ใน “พรหมลิขิต” ละครสุดฮิตติดเทรนด์ที่ฉายผ่านช่อง 3 ปรากฏฉากที่ พุดตาน (รับบทโดย เบลล่า ราณี แคมเปน) กำลัง “เจียว” ไข่เจียวจนฟูกรอบ หอมฟุ้งกลิ่นตลบอบอว...

เมื่อคนแต้จิ๋ว (ใน) ไทยใช้ “คำยืมจากภาษาไทย” ในภาษาแต้จิ๋ว ?!?

ในแวดวงวิชาการ มีงานเขียนจำนวนไม่น้อยที่นำเสนอบทความเกี่ยวกับอิทธิพลของภาษาจีนในภาษาไทย ซึ่งภาษาที่ว่าจำนวนไม่น้อยมาจาก "ภาษาแต้จิ๋ว" นั่นเป็นเพราะคนแ...

“ไอ้ลูกหมา-ไอ้ห้าร้อย” เผยคำด่าภาษาจีนในบริบทไทย คนจีนฟังแล้ว “ไม่เจ็บ”

จะว่าไป คำด่า ในแต่ละภาษามีที่มาที่ไปแตกต่างกัน บางครั้งคำด่าภาษาจีนเมื่อแปลมาอยู่ในบริบทไทยแล้ว คนจีนฟังกลับ “ไม่เจ็บ” อย่างเช่นคำ "ไอ้ลูกหมา" หรือ "...

ภูมิหลังชื่อเมืองลั่วหยางในภาษาจีน ที่ต้องเปลี่ยนเมื่อเปลี่ยนราชวงศ์

ค.ศ. 220 พระเจ้าวุ่ยเหวินตี้ (โจผี-บุตรชายโจโฉ) ขึ้นครองราชย์ใหม่ๆ ได้ประกาศแก้ไขการเขียนชื่อเมืองลั่วหยาง (ลกเอี๋ยง) โดยให้แก้ “อักษร 洛 (ลั่ว) เป็นอั...

การปิดโรงเรียนจีน และห้ามสอนภาษาจีน ในประเทศไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป.

ทุกวันนี้ที่ภาษาจีนเป็นหนึ่งในภาษาสากลที่ใช้เป็นสื่อกลางในหลายประเทศ หลายโรงเรียนสอนภาษาจีนเป็นภาษาที่ 3 ในทุกหลายระดับชั้น นักเรียนสายศิลป์หลายโรงเรี...

ไป๋ฮว่าเหวิน-ภาษาสามัญ ที่ช่วยพัฒนาภาษาจีนกลาง และเผยแพร่แนวคิดปฏิวัติ

ความยากในการเรียนภาษาจีน ที่รู้กันโดยทั่วไปคือ เราต้องจำตัวอักษรว่าเขียนอย่างไร และต้องท่องจำพินอินสำหรับใช้อ่านออกเสียงตัวอักษรนั้น จากนั้นก็ตามมาด้ว...

ตัวเต็ม-ตัวตัด การปฏิรูปอักษรจีน มาตรการรับมือจักรวรรดินิยมของจีน

“อักษรตัวเต็ม-อักษรตัวตัด” ในภาษาจีน หรือที่นิยมเรียกกันว่า “ตัวเต็ม-ตัวตัด” ใครที่เรียนภาษาจีนคงรู้จักตัวต็มตัวตัดกันดี บ้านใครที่มีผู้ใหญ่ในบ้านรุ่น...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น