เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

ข้าวราดแกง

“ข้าวราดแกง” ทำไมคนไทยนิยมเรียกคำนี้ แทนที่จะเป็น “แกงราดข้าว”

“ข้าวราดแกง” เป็นเมนูที่หากินได้ง่ายในไทย ไม่ว่าจะไปทางไหนก็จะต้องเจอกับข้าวหลากหลายเมนูวางเรียงในถาด เราจิ้มชี้อยากกินเมนูนั้นเมนูนี้ได้ตามชอบในราคาส...
คำว่า มรสุม

คำว่า มรสุม มาจากไหน? เปิดที่มาชื่อลมประจำฤดู 2 ชนิดของไทย

คำว่า มรสุม ลมประจำฤดูของประเทศไทย คำนี้มีที่มาจากไหน? คำศัพท์ในข่าวพยากรณ์อากาศที่มักคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ได้ยินได้เห็นตลอดทั้งปีนั่นก็คือคำว่า มรส...
ขนมไทย ขนม ขนมหวาน

เปิดข้อสันนิษฐาน ทำไมคนไทยเรียกขนมว่า “ขนม”?

ถ้าพูดถึงคำว่า “ขนม” คงจะนึกถึง “ขนมหวาน” ต่าง ๆ เหมารวมไปถึงขนมกรุบกรอบที่ขายตามร้านสะดวกซื้อทั่วไป ซึ่งคำนี้ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ...
สัญลักษณ์กดไลก์

สัญลักษณ์กดไลก์ มีที่มาจากไหน? ไขปริศนาท่าชูนิ้วโป้ง

เปิดที่มาสัญลักษณ์กดไลก์ ชื่นชอบ-ยอดเยี่ยม-ถูกใจ-OK แต่ความหมายเดิมเกี่ยวข้องกับความตาย!? ทุกวันนี้เมื่อเราท่องไปในโซเชียลมีเดียก็มักพบสัญลักษณ์กดไลก...
อัษฎางคประณต อัษฎางคประดิษฐ์

“อัษฎางคประณต” แปลว่าอะไร ส่องท่าเคารพที่ไม่ค่อยพบในหมู่คนไทย

"อัษฎางคประณต" แปลว่าอะไร ส่องท่าเคารพที่ไม่ค่อยพบในหมู่คนไทย อัษฎางคประณต คำนี้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไม่มี อาจเป็นเพราะว่า ในเมืองไทยเรา หรือ...
ก ข จากหนังสือ "ดรุณศึกษา" ฉบับ พ.ศ. 2453 ของ พ.ฮีแลร์ เป็น ก ข เล่มแรกที่มีคำกำกัลครบทั้ง 44 ตัว สมบัติสะสมของคุณประยงค์ อนันทวงศ์

ก่อนจะเป็น “ก. ไก่” อักษรไทยเคยเป็น ก. อะไรมาก่อน?

ก่อนจะเป็น "ก. ไก่" อักษรไทยเคยเป็น ก. อะไรมาก่อน? ตัวอักษรไทยในความคุ้นชินของเรานั้นแยกไม่ขาดกับคำกำกับอักษร กล่าวคือ ถ้าพูดหรือนึกถึงตัวอักษร ก ก็จ...
คำว่า จริง

คำว่า “จริง” ออกเสียงว่า “จิง” ไม่ออกเสียงควบกล้ำ “จร” แล้วทำไมต้องมี “ร.เรือ”

คำว่า จริง ออกเสียงว่า จิง ไม่ออกเสียงควบกล้ำ จร แล้วทำไมต้องมี ร.เรือ ในภาษาไทยมีคำควบกล้ำแท้และไม่แท้ คำควบกล้ำไม่แท้อย่างคำว่า จริง ที่ออกเสียงว่า...

คำว่า “ตูด” มาจากไหน จากมูลในจดหมายเหตุทูตฝรั่งเข้าเฝ้าเจ้าพระยาคลังที่มักผายลม!...

ตูด เป็นคำศัพท์ที่สื่อความถึงอวัยวะส่วนหนึ่งของมนุษย์ และความหมายแทนสัดส่วนของสิ่งอื่นได้อีก แต่คำนี้มีที่มาอย่างไร เมื่อลองสืบค้นดูแล้วก็พบข้อมูลในจด...
ลูกเกด

ทำไมเรียกลูกองุ่น (แห้ง) ว่า “ลูกเกด” ?

เราเรียก “ลูกองุ่น” ที่อบแห้งว่า “ลูกเกด” ทั้งที่เราเรียกต้นมันว่า “องุ่น” เรียกผล (องุ่น) สดว่า ลูกองุ่น แต่ทำไมเมื่อถูกทำให้แห้งจึงกลายเป็นลูกเกดไปเ...
ภาพ ชาวบ้าน จิตรกรรม วัดเขียน จังหวัดอ่างทอง เฉ่ง

“เฉ่ง” คำจีนที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดจากการ “ด่า” แต่มาจากการเก็บภาษีช่วงต้นรัตนโกสิน...

“เฉ่ง” คำจีนที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดจากการ “ด่า” แต่มาจากการเก็บภาษีช่วงต้นรัตนโกสินทร์ “เฉ่ง” ตามที่พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายไว้นั้น เป็...
สังเค็ด

“สังเค็ด” คืออะไรกันแน่? ดูร่องรอยสังเค็ดในอดีตจากเรื่องขุนช้างขุนแผน

“สังเค็ด” คืออะไรกันแน่? ดูร่องรอยสังเค็ดในอดีตจากเรื่องขุนช้างขุนแผน คำ “สังเค็ด” นี้ในปทานานุกรมได้ให้คำนิยามว่า “ทานวัตถุที่ถวายแก่สงฆ์เมื่อเวลาปล...
อู่ต่อเรือ อู่แห้ง ซ่อมเรือ เรือ ขึ้นคาน

“ขึ้นคาน” แปลว่าอะไร ทำไมใช้เปรียบถึง “สาวใหญ่” ยังโสด คานอะไร?...

คำว่า "ขึ้นคาน" เป็นภาษาปาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า โดยปริยายหมายถึง หญิงโสดที่มีอายุแต่ยังไม่มีสามี ซึ่งมักเข้าใจกันผิดว่า คาน ในท...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น