เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ดนตรี

แท็ก: ดนตรี

จิตร ภูมิศักดิ์ วิจารณ์ ศาสนา-ราชสำนัก-เจ้าขุนมูลนาย ทำ “เพลงไทยเดิม” ไม่พัฒนา !...

ความเดิมตอนที่แล้ว จิตร ภูมิศักดิ์ ในนามปากกา “มนัส นรากร” เขียนบทความเกี่ยวกับดนตรีไทยชุดหนึ่งเมื่อราวปี 2497 ที่นำเสนอไปแล้ว 2 บทความ คือ บทความ “หล...

จิตร ภูมิศักดิ์ ชี้เพลงไทยเดิมสาบสูญเพราะ “ไม่ยอมพัฒนา” มิใช่คนรุ่นใหม่ไม่สนใจ

จิตร ภูมิศักดิ์ ใช้นามปากกา "มนัส นรากร" เขียนบทความเกี่ยวกับดนตรีไทยชุดหนึ่งเมื่อราวปี 2497 เป็นบทความที่สะท้อนสถาณการณ์ของแวดวงดนตรีไทยในสมัยนั้นที่...

ตามรอยทางม้าลาย ที่ Abbey Road บนปกอัลบั้ม “The Beatles” และความเปลี่ยนแปลงถึงปั...

ถ้าพูดถึงภาพถ่ายอมตะที่ตราตรึงในความทรงจำคนทั่วโลก เชื่อว่าภาพปกอัลบั้ม Abbey Road ขณะสมาชิกวง The Beatles เดินเรียงแถว ก้าวขาข้ามทางม้าลาย ย่อมต้องเป...

เจาะเรื่อง “ตัดไข่-ตอนอวัยวะ” เคล็ดลับนักร้องชายเสียงดีในยุโรป หลังศตวรรษที่ 16

การขับร้องเพลงในบางสังคม เดิมทีเป็นหน้าที่ของผู้ชายเท่านั้น ดังจะเห็นได้จากกฎหมายในโรมสมัยเรืองอำนาจ มีประกาศห้ามผู้หญิงพูดในโบสถ์อย่างเด็ดขาด หน้าที่...

ปริศนาสาเหตุการตายของ “บ๊อบ มาร์เลย์” ศิลปินที่สู้ “มะเร็งผิวหนัง” ฤๅเป็นผลของแผ...

สำรวจปมปริศนาสาเหตุการตายของ บ๊อบ มาร์เลย์ (Bob Marley) ศิลปินเร็กเกในตำนานที่สู้กับภาวะมะเร็งผิวหนัง หรือว่าจะเป็นผลมาจากบาดแผลซึ่งเกิดขึ้นขณะเตะฟุตบ...

ออสซี่ ออสบอร์น (Ozzy Osbourne) นักร้องห้าวกัดหัวค้างคาวต่อหน้าผู้ชม

ในประวัติศาสตร์โลกดนตรีมีศิลปินที่ประกอบวีรกรรมแผลงๆ มากมาย บุคคลที่โดดเด่นที่สุดรายหนึ่ง แฟนเพลงนึกถึงชื่อออสซี่ ออสบอร์น (Ozzy Osbourne) เป็นอันดับต...

เมื่อฝรั่งอังกฤษคิดประดิษฐ์ “แคนแปด” ให้คนลาวและลาวอีสานเล่น

แม้นว่าองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ประกาศขึ้นทะเบียน “เสียงแคนลาว” เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ซึ่งนำความ...
กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ร่องรอยแผ่นเสียงเพลงไทยที่สาบสูญ ไม่มีใครสนใจหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

เดิมทีเพลงไทยที่ร้องบรรเลงสืบต่อกันมา ไม่ได้มีการจดทำนองไว้เป็นตัวโน้ตดังเพลงคลาสสิคของฝรั่ง ครั้งกระโน้นเพลงไทยมีความใกล้ชิดกับธรรมชาติอยู่มาก แม้วิธ...

“แก้งลิ่ง” เครื่องดนตรีซึ่งทำจากชิ้นส่วนกระดูกมนุษย์ มีที่มาที่ไปอย่างไร

สำรวจ “แก้งลิ่ง” เครื่องดนตรีที่ทำจากชิ้นส่วนกระดูกมนุษย์ มีที่มาที่ไปอย่างไร จากการศึกษาทางดนตรีชาติพันธุ์วิทยา ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรัณย์ นักรบ ...

“ลูกสาวใครหนอ” เพลงต้องห้ามของ “ชาย เมืองสิงห์” จอมพลสฤษดิ์ ห้ามออกอากาศ?...

ไม่ว่าจะในยุคไหนก็ตาม หลากหลายสิ่งมักถูกตีตราว่าเป็น "สิ่งต้องห้าม" แม้กระทั่งเสียงร้องเพลงก็ยังเป็นเรื่องต้องห้ามได้เช่นกัน ดังปรากฏในเหตุการณ์ตามคำบ...

“กางเกงทาทา” ถึงร้อยกรองกลอนคาราโอเกะโดย ทาทา ยัง สาวน้อยมหัศจรรย์ดังทั่วเมือง...

ในประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมดนตรีร่วมสมัยในไทยช่วงเดือนกรกฎาคม กว่า 20 ปีก่อน ปี พ.ศ. 2538 เป็นช่วงที่ชื่อ "ทาทา ยัง" ได้รับความนิยมอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น...

ถอดความหมายคำว่า “ดนตรี” ที่แต่เดิมไม่ได้หมายถึงการดีดสีตีเป่า

เดิมทีดูเหมือนคนที่พูดภาษาตระกูลไต-ลาว เคยเรียก ดนตรี ว่า “การร่ายรำทำเพลง” หรือการ “ดีดสีตีเป่า” คำว่า “ดนตรี” น่าจะเป็นคำที่เข้ามาภายหลัง, เพราะเป็...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น