เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ดนตรี

แท็ก: ดนตรี

เส้นทางการก่อตัวของ K-Pop สู่ยุคปังทั่วโลก ดูจุดเปลี่ยนเมื่อเกาหลีส่งออกวัฒนธรรม...

สำหรับโลกวัฒนธรรมร่วมสมัยในปีนี้ ถ้าจะกล่าวว่าเป็นปีของเกาหลีใต้ก็คงไม่แปลกนัก เนื้อหาประเภทภาพเคลื่อนไหว(หนัง/ซีรีส์) ซีรีส์ Squid Game สร้างปรากฏการ...

ดราม่าแบ่งกลุ่ม “นักร้องเพลงผู้ดี” ในอดีต เหยียดเพลงตลาด คนด่าเพลงลูกทุ่ง “บ้าๆ ...

การแบ่งประเภทดนตรี และจัดแบ่งกลุ่มชนิดดนตรีนั้นเป็นประเด็นดราม่ากันมาแล้วหลายครั้งหลายครา ไม่เพียงแต่ในไทยเท่านั้น ในต่างประเทศก็มีให้เห็นกันเสมอ สำหร...
จิตรกรรม ชาย หญิง จีบ เกี้ยวพาราสี

เจาะ “เพลงปฏิพากย์” หนุ่มสาวโต้ตอบกรอบสังคมเคร่งครัดเรื่องเพศ ผ่านเพลงพื้นบ้าน...

เพลงปฏิพากย์ คือ เพลงพื้นบ้านซึ่งชาย-หญิงใช้ร้องตอบโต้กัน ส่วนใหญ่จะเป็นการร้องโต้ตอบกันในเชิงเกี้ยวพาราสี โดยเพลงปฏิพากย์ถือว่าเป็นหนึ่งในวิธีการแสดง...

Purple Haze เพลงอมตะของ “เฮนดริกซ์” (Jimi Hendrix) เกี่ยวกับสิ่งหลอนประสาทจริงหร...

สำหรับผู้ที่เล่นเครื่องสายที่ได้รับความนิยมในวัฒนธรรมสมัยใหม่อย่างกีตาร์ไฟฟ้า ชื่อ "จิมี เฮนดริกซ์" (Jimi Hendrix) คือชื่อนักกีตาร์คนแรกๆ ที่คนส่วนใหญ...

คอนเสิร์ตครั้งสุดท้ายของ The Impossibles และเกร็ดที่มาของเพลง “หาดสีทอง-ทะเลไม่เ...

วงการดนตรีสูญเสียบุคคลสำคัญอย่าง เศรษฐา ศิระฉายา ในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2565 นักร้องวงในตำนาน ดิ อิมพอสซิเบิ้ลส์ (The Impossibles) ขึ้นแสดงคอนเสิร์...

รู้จัก “เครื่องบิน” วงฝรั่งหยิบหมอลำ-ลูกทุ่ง(ในไทย)ยุค 60-70s ดนตรีแถบเอเชีย มาผ...

รู้จัก วง เครื่องบิน (Khruangbin) วงจากสหรัฐอเมริกา หยิบดนตรีหมอลำ-ลูกทุ่ง(ในไทย)ยุค 60-70s และดนตรีพื้นเมืองเอเชีย มาทำใหม่ วัฒนธรรมดนตรี "หมอลำ" ...

ผู้หญิงนอกใจ ผู้ชายมีชู้ ในบทเพลง จริงหรือที่เนื้อหานอกใจยุคแรก คนนอกใจมักเป็นผู...

นอกใจ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายว่า “ไม่ซื่อตรงต่อสามีหรือภรรยาด้วยการคบชู้สู่สาว” อันเป็นที่มาให้เกิดคำศัพท์อื่นๆ ตามมา เช่น ชู้, ...

เส้นทาง ไวพจน์ เพชรสุพรรณ สู่ราชาเพลงแหล่ และแต่งเพลงให้พุ่มพวง ดวงจันทร์

บรรดาศิลปินเพลงพื้นบ้านที่โดดเด่นของไทยยุคนี้ ย่อมต้องมีชื่อ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ อย่างแน่นอน กว่าจะมาเป็น "ราชาเพลงแหล่" ซึ่งคนทั่วประเทศรู้จักคุ้นเคย ต...

ปมการศึกษาแบบกดหัวให้เชื่อฟัง ต้นเหตุสู่เพลงอมตะ “Another Brick in the Wall, Par...

บรรดาผลงานเชิงศิลป์ในวัฒนธรรมร่วมสมัยรอบศตวรรษมานี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ "การศึกษา" มากมาย หากพูดถึงผลงานในรูปแบบ "บทเพลง" มีไม่มากนักที่ได้รับความนิยมถึ...

“สยามานุสสติ” ถึง “บทชวนรักชาติ” พระราชนิพนธ์ในร.6 สู่บทเพลงว่าด้วยความรัก...

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระอัจฉริยภาพทางด้านอักษรศาสตร์เป็นที่ประจักษ์ต่อสายตาคนทั่วโลก ในแวดวงทางวัฒนธรรมดนตรีแล้ว มีคร...

ผ่าปริศนาของ “วากเนอร์” คีตกวีดนตรีคลาสสิกที่ “ฮิตเลอร์” เทิดทูน นำไปใช้ในการเมื...

ในบรรดานักประพันธ์เพลงคลาสสิกที่ทั่วโลกยกย่องกันจนถึงวันนี้ ริชาร์ด วากเนอร์ (Richard Wagner) ติดอยู่ในรายชื่อเจ้าของผลงานซึ่งมีปมให้ถกเถียงมากที่สุดร...

ทำไมหมอลำต้องร้อง “โอละนอ” ค้นหาที่มาคำนี้มาจากไหน

หลายคนมักจะตั้งคำถามเช่นนี้ โดยเฉพาะผู้ที่ไม่เคยฟังหมอลำมาก่อน ส่วนผู้ที่ชื่นชอบหรือคุ้นเคยเป็นอย่างดี อาจจะไม่รู้สึกอะไรเลย  เพราะฟังจนกลายเป็นเรื่อง...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น