เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก การเปลี่ยนแปลงการปกครอง

แท็ก: การเปลี่ยนแปลงการปกครอง

คณะราษฎร ปฏิวัติ 2475

คณะราษฎรเผยสาเหตุ ‘ปฏิวัติ 2475’ ปฐมบทจากความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาฯ ?...

คณะราษฎร เผยสาเหตุ "ปฏิวัติ 2475" ปฐมบทจากความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์? แม้ว่า “24 มิถุนายน” จะหมดความสำคัญไปแล้วในปฏิทินวันสำคัญของชาติ...
ทหาร ปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475

24 มิ.ย. 2475 พระยาพหลฯ อ่านประกาศคำแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย คณะราษฎร นำโดย พระยาพหลพลพยุหเสนา นำก...
เจ้านายสตรี แต่งงาน

“รักของท่านหญิง” สำรวจความรัก-การแต่งงานของเจ้านายสตรีที่เปลี่ยนไปหลัง 2475...

การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ส่งผลให้ เจ้านายฝ่ายใน หรือ เจ้านายสตรี สามารถสมรสกับสามัญชนได้ หลังจากนั้นจึงมี เจ้านายสตรี กราบบังคมทูลพระกรุ...
ฉลอง งาน 2475

“ใคร ๆ ก็รู้กันดีว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง” ข่าวลือปฏิวัติ 2475 แม้แต่ในวังก็รู้?

ปฏิวัติ 2475 เป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทย (สยามในขณะนั้น) เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบ...

8 ชุดเหตุการณ์ความขัดแย้งในการเมืองไทยยุคแรกแย้มปชต. เมื่อประนีประนอมกันได้ไม่นา...

ประวัติศาสตร์การเมืองไทย มีร่องรอยความขัดแย้งเสมอมาเช่นเดียวกับหลายพื้นที่ในโลก เมื่อครั้งหัวโค้งเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 ที่จบลงในบรรยากาศซึ่งคล...
ภาพถ่าย พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม

เบื้องหลังพระองค์เจ้าเฉิดโฉมเปลี่ยนบท “ผู้ชนะสิบทิศ” เจ้านายผู้ล้ำสมัยกับอิสระชั...

เบื้องหลัง “พระองค์เจ้าเฉิดโฉม” เปลี่ยนบท “ผู้ชนะสิบทิศ” เจ้านายผู้ล้ำสมัยกับอิสระชั่วคราว “---ถูกขังมาแต่อ้อนแต่ออก พอแก่เฒ่าได้ออกมาเปิดหูเปิดตา ...
คณะราษฎร เปลี่ยนแปลงการปกครอง ปฏิวัติ 2475

ย้อนบรรยากาศ ปฏิวัติ 2475 “เจ้านายฝ่ายเหนือ” ในเชียงใหม่ มีท่าทีอย่างไร?

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หรือ “ปฏิวัติ 2475” โดย คณะราษฎร เกิดขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน ในพระนคร แต่ในพื้นที่ห่างออกไป เช่น เชียงใหม่ บรรดา “เ...
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกั สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีทรงเล่า สมาชิกคณะราษฎรทูล “ไม่นึกว่าจะลําบาก”...

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ทรงกล่าวถึงสมาชิก "คณะราษฎร” บางคนไว้ว่า มากราบทูลว่า "ไม่นึกว่าจะลําบาก..ถ้ารู้ยังงี้ก็ไม่ทํา" หม่อมเจ้ายุธิษเฐียร สวัสด...
ลูกเสือ โรงเรียนสวนกุหลาบ หมุดพิทักษ์รัฐธรรมนูญ

บทบาท “ลูกเสือ” กับการพิทักษ์ประชาธิปไตย ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช

เมื่อกลางเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เป็นผู้นำฝ่ายอนุรักษนิยม ยกกองทัพประชิดพระนคร ที่รู้จักกันในชื่อ "กบฏบวรเดช" หมายล้มรัฐบ...
คณะ ร.ศ. 130 ใน คุก

ชีวิตของ “พระยากำแพงราม” หลังจากหักหลังเพื่อนทหารคณะ ร.ศ. 130 ที่วางแผนปฏิวัติ...

ความพยายามของทหารหนุ่มสยามสมัยรัชกาลที่ 6 ในเหตุการณ์ "กบฏคณะ ร.ศ. 130" ต้องประสบความล้มเหลว เพราะมี "ผู้หักหลัง" ที่นำเรื่องนี้ไปแจ้งราชการ จนนำมาสู่...
การประชุมสภา ครั้งแรก มี นายกรัฐมนตรี

ประชุมสภาผู้แทนฯ ครั้งแรกของประเทศ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (24 มิถุนายน 2475) ในวันที่ 28 มิถุนายน 2475 มี การประชุมสภาผู้แทนราษฎร เป็นครั้งแรกของประเทศ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เม...
พานรัฐธรรมนูญ

พานรัฐธรรมนูญ : การช่วงชิงอำนาจหลังปฏิวัติบนสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ปี 2475 คณะราษฎรพยายามเผยแพร่แนวคิดเรื่อง "รัฐธรรมนูญ" ปรากฏผ่าน "พานรัฐธรรมนูญ" เพื่อสร้างความเ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น