แท็ก: กองทัพญี่ปุ่น
วิลเฮลมินา วอทริน แม่พระแห่งนานกิง ที่ช่วยเด็ก-ผู้หญิงจากการย่ำยีของทหารญี่ปุ่น
วิลเฮลมินา วอทริน หรือที่ใครๆ เรียกว่า “มินนี” เธอเติบโตขึ้นในครอบครัวชาวไร่เล็กๆ ในรัฐอิลลินอยส์ หลังมารดาเสียชีวิต เธอต้องใช้ชีวิตวัยเด็กด้วยความยาก...
7 เม.ย. 1945 เรือรบยามาโตะ เรือประจัญบานทรงพลังสุดของญี่ปุ่นถูกจมในภารกิจไปไม่กล...
เรือรบยามาโตะ เรือประจัญบานทรงพลังสุดของญี่ปุ่นถูกจมในภารกิจไปไม่กลับ 7 เมษายน 1945
หลังกองทัพสหรัฐฯ บุกยึดอิโวะจิมะ (Iwo Jima) ได้อย่างเบ็ดเสร็จ...
“เรือรบยามาโตะ”เรือประจัญบานญี่ปุ่นสุดเกรียงไกร ที่จบลงด้วยความตายกว่า 3,000 ชีว...
เรือรบยามาโตะ (Yamato) คือหนึ่งในเรือรบที่ทรงอานุภาพมากที่สุดในประวัติศาสตร์กองทัพญี่ปุ่น สร้างชื่อเสียงอันน่าเกรงขามไว้ในสมรภู...
7 ธันวาคม 1941 กองทัพญี่ปุ่นโจมตีถล่ม “เพิร์ลฮาร์เบอร์”
ในวันที่ 7 ธันวาคม 1941 (พ.ศ. 2484) กองทัพญี่ปุ่นได้ส่งกำลังเข้าลอบโจมตีกองทัพสหรัฐฯ ที่ตั้งอยู่ ณ เพิร์ลฮาร์เบอร์ (Pearl Harbor) บนเกาะโออาฮู (Oahu) ...
นิเซ ลูกครึ่งญี่ปุ่น-เมกา กำลังพลในกองทัพอเมริกา ที่ประธานาธิบดีไม่ไว้วางใจ
บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ลอสแอนเจลิสไทมส์ ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1942 เตือนผู้อ่านว่าบัดนี้เมื่ออเมริกากลายเป็นคู่สงครามอย่างเป็นทางการกับญี่ปุ่น พวก...
เอเชียผงาด ! “สงครามรัสเซีย – ญี่ปุ่น” พลิกโฉมหน้ามหาอำนาจทางทะเล...
สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เกิดขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1904-1905 นอกจากเป็นสงครามขนาดใหญ่ครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 แล้ว ยังเป็นสงครามที่ทำ...
วิกฤตการณ์ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่สงขลา จากคำบอกเล่าผู้อยู่ในเหตุการณ์
บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงเมื่อญี่ปุ่นยกพลบุกสงขลานี้ เรียบเรียงจากความจำโดย รตนารถ ว.รัตนะ อดีตนายสถานีวิทยุสื่อสารฯ ประจำค่ายทหารคอหงส์ และมีหน้...
ท่าทีที่แตกต่างของผู้นำเยอรมนี-ญี่ปุ่น ต่อการ “สังหารหมู่” ในสงคราม
ข้อมูลเกี่ยวกับการสังหารหมู่ ที่ค้นหาได้ในกูเกิล ทำให้เห็นภาพคร่าวสรุปได้ว่า สงครามโลกครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1941-1945 กองทัพนาซีเยอรมนีสังหารยิวใน...
ทางรถไฟญี่ปุ่นในสงครามโลก “เมกาโปรเจกต์” ที่ไม่ใช่แค่ขนส่งกองทัพ ?!?
คนส่วนใหญ่เข้าใจกันตลอดมาว่า ทางรถไฟญี่ปุ่นในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา หรือทางรถไฟสายมรณะ ใช้สำหรับการเดินทัพเข้าไปทำลายรังทหารอังกฤษในพม่าและอินเดี...
กามิกาเซ่-หน่วยรบพลีชีพ ชื่อนี้มีที่มาอย่างไร? จากยุทธวิธีบนฟ้าสู่ใต้น้ำ
ก่อนฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1944 กองกำลังญี่ปุ่นมีแนวโน้มสูงว่าเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นไม่อยู่ในฐานะที่จะสู้รบตามแบบฉบับได้ เพราะกำลัง...
ทางรถไฟสายมรณะในพม่า ประวัติศาสตร์ที่โหดร้าย เจ็บปวดไม่แพ้ในฝั่งไทย
เมื่อนึกถึงทางรถไฟสายมรณะก็จะคิดถึง “สะพานข้ามแม่น้ำแคว” เป็นหลัก แต่ทางรถไฟสายมรณะไม่ได้สร้างอยู่ทางฝั่งประเทศไทยเท่านั้น หากยังได้สร้างทางฝั่งประเทศ...
อวสานจอมพลโตโจ คิดปลิดชีพตนเองแต่ผบ.อเมริกันต้องการ “จับเป็น”
จอมพล ฮิเดกิ โตโจ เป็นนายพลทหารแห่งกองทัพญี่ปุ่น, เป็นนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนที่ 27 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2, เป็นหนึ่งในผู้ที่รับผิดชอบในการออกคำสั่งใ...