เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ศิลาจารึก

แท็ก: ศิลาจารึก

ภาพถ่าย ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร

“ถ้าไม่มีคนไทยคนไหนจะอ่านจารึกได้ ผมนี่แหละจะต้องอ่านจารึกให้ได้” : ศ. ดร. ประเส...

วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2542 เป็นวันคล้ายวันเกิดปีที่ 80 ของ ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร บรรดาลูกศิษย์จากหลายสถาบันจึงร่วมกันจัดงานแสดงมุทิตาจิต โดยส...
ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง มี คำยืม ภาษาเขมร

คำยืมภาษาเขมรที่ปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง

ศิลาจารึกหลักที่ 1 หรือ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง มีข้อความหรือถ้อยคำจำนวนหนึ่งที่ปรากฏคำยืมจาก "ภาษาเขมร" แสดงให้เห็นว่าสุโขทัยรับอิทธิพลจากเขมรในระดับ...
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

“นางเสือง” แม่ของคนไทยที่ปรากฏในจารึกประวัติศาสตร์คนแรก แม่ดีเด่นจากศิลาจารึก?...

"นางเสือง" แม่ของคนไทยที่ปรากฏในจารึกประวัติศาสตร์คนแรก "แม่ดีเด่น" จากศิลาจารึก หลักที่ 1 ? แม้ว่าประเทศไทยจะเริ่มประกาศให้ มี “วันแม่” เป็นครั้งแ...

“ภาษาเปอร์เซีย” เหตุใดจึงมาปรากฏในศิลาจารึก “พ่อขุนราม” ?

“เบื้องตีนนอนเมืองสุโขทัยนี้ มีตลาดปสาน...” เป็นประโยคหนึ่งบนศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ปรากฏอยู่บนบรรทัดแรกของด้านที่ 3 ซึ่งมีผู้อธิบายว่า คำว่า “ปสา...

จารึกพ่อขุนฯ “แหวกประเพณี” เมื่อสระลอย ลอยมาจม อยู่ใน “ศิลาจารึกหลักที่ 1”

มีประเด็นที่ถกเถียงกันทางวิชาการประเด็นหนึ่งจนเป็นที่สนใจของคนไทยทุกระดับ คือการถกเถียงเกี่ยวกับหลักหินชิ้นสำคัญ ศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่าทำขึ้นในสมัยใดแ...

ข้อสงสัยการตรวจพิสูจน์ศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้วยวิธีวิทยาศาสตร์

“เมื่อนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยด้วยวิธีวิทยาศาสตร์มาพิจารณาร่วมกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษาประวัติการค้นพบและการเก็บรักษาศิลาจารึกหลักที่ 1 ดูจะเป็...

ถกปมหลักฐาน-มุมมองต่อนิยามคำ “พระเจ้าจงกรม” กับ “พระเจ้าหย่อนตีน” คืออะไรกันแน่?...

สำรวจหลักฐานและมุมมองต่อนิยามคำ พระเจ้าจงกรม กับ พระเจ้าหย่อนตีน สองคำนี้คืออะไรกันแน่? สืบเนื่องจาก รศ.ดร. ศานติ ภักดีคำ เขียนบทความเรื่อง “ศิลาจา...

พ่อขุนรามคำแหง ไม่ได้ทำศิลาจารึกพ่อขุนรามฯ แต่ทำขึ้นสมัย “ลิไทย” ด้วยเหตุผลทางกา...

เมืองสองแควแต่เดิมน่าจะไม่ได้ขึ้นตรงต่อทางสุโขทัยก็ได้ เพราะแม้แต่ ศิลาจารึก ที่กล่าวถึงรัชกาลของพ่อขุนรามคำแหงเอง ก็กล่าวไปในทำนองที่ว่าเมืองสองแควเพ...

ศิลาจารึกหลังพระพุทธรูปปางลีลา “ศิลาจารึก” หลักแรกของอยุธยาที่ค้นพบใหม่?

ศิลาจารึกหลังพระพุทธรูปปางลีลา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม เป็นศิลาจารึกด้านหลังพระพุทธรูปปางลีลา (ในจารึกเรียกว่า พระเจ้าจงกรม) ที่แกะสลักบนแผ่นห...

พบศิลาจารึกโบราณ อายุนับพันปีที่นครปฐม ร่องรอยอารยธรรมทวารวดี

เฟซบุ๊กสำนักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี แจ้งการขุดค้นพบศิลาจารึกโบราณอายุราวพันปี ระบุข้อความ "ทวารวตีวิภูติ" ร่องรอยอารยธรรมสมัยทวารวดี ในนครปฐม สำนัก...

ผู้เชี่ยวชาญจากบริติชมิวเซียม อธิบายข้อจำกัดของการกำหนดอายุจารึกจากการ “ผุพัง”

สืบเนื่องจาก “ข้อสงสัยการตรวจพิสูจน์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้วยวิธีวิทยาศาสตร์ (ศิลปวัฒนธรรม, กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗) ช่วงปลายปีที่ผ่านมา ผมได้สอบถามไปยังบริติช...

มรดกโลกทางวัฒนธรรม

เกณฑ์สำคัญที่สุดในการพิจารณาว่าอะไรเป็น “มรดกโลก” ของคณะกรรมการมรดกโลกยูเนสโกก็คือ สิ่งนั้นต้องมีคุณค่าในทางสากล ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นมรดกทางธรรมชาติหรื...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น