แท็ก: ไฟไหม้
ไม้ขีดไฟในสยาม เริ่มมีใช้ครั้งแรกสมัยรัชกาลที่ 4
“ไม้ขีดไฟ” เป็นของใช้จำเป็นที่ต้องมีติดบ้านเสมอ มันทำให้เราติดไฟ, จุดไฟได้ง่าย เร็ว และสะดวกทันใจกว่าการใช้เหล็กไฟชุดเหลือเกิน ไม่รู้เหมือนกันว่าเมื่อ...
ย้อนดูเหตุ “ฟ้าผ่า” พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท ไฟไหม้หนักจนต้องรื้อสร้างให...
เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) แจ้งข่าวว่า เมื่อวันอาทิตย์ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 7 ปีระกา จุลศักราช 1151 (พ.ศ. 2332 ตรงกับ วันที่ 24 พฤษภาคม ตามปฏิทินสุริย...
เมื่อ “เพลิงไหม้” จอมพลสฤษดิ์ ถึงที่เกิดเหตุ สั่งเด็ดขาด “ข้าพเจ้ารับผิดแต่ผู้เด...
เมื่อเกิด “เพลิงไหม้” จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ มักจะไปถึงที่เกิดเหตุและดำเนินการสั่งการอย่างเด็ดขาด และการลงโทษอย่างรุนแรง เช่น การสั่งประหารชีวิตผู้ลอบวา...
(กิจ)การดับเพลิงก่อตัวยุคแรก สู่ “คดีรถ-เรือดับเพลิง” ในกรุงเทพฯ มหากาพย์ทุจริตจ...
นับตั้งแต่มนุษย์ค้นพบและก่อไฟขึ้นได้ พัฒนาการหลังจากนั้นทำให้เกิดนวัตกรรมด้านพลังงานและอื่นๆ อีกมากมาย ปฏิเสธได้ยากว่า คุณประโยชน์ย่อมมาพร้อมกับโทษหาก...
“ไฟไหม้ไม่ต้องเก็บเครื่องเพชร เก็บหนังสือก่อน” เบื้องหลังรับสั่งเจ้านายที่รักหนั...
“...ถ้าเกิดไฟไหม้ไม่ต้องเก็บเครื่องเพชร ให้เก็บหนังสือก่อน...” เป็นพระราชดำรัสที่แสดงถึงความรักหนังสือของสมเด็จพระราชปิตุฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวง...
เกร็ดกฎมณเฑียรบาลราชสำนักพม่า เมื่อเกิดเหตุไฟไหม้ ทำไมต้องเรียกไปลงชื่อในวัง?
เกร็ดกฎมณเฑียรบาลราชสำนักพม่าที่นำมาเสนอในที่นี้ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงแปลมาจากหนังสือภาษาอังกฤษ ชื่อ Upper Burma Gazetteer เรียบเรียงเมื่อ...
ไฟไหม้ “ย่านพาหุรัด” พ.ศ. 2526
ย้อนดูภาพ "ไฟไหม้ย่านพาหุรัด" พ.ศ. 2526 ภาพชุดนี้เป็นภาพเหตุการณ์ไฟไหม้อาคารพาณิชย์ในย่านพาหุรัดที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2526 ภาพที่ 1 เจ้าหน...
“ทรงเจ้า-ข่าวลือ” ทำไมเป็นเรื่องต้องห้ามในคดีไฟไหม้ สมัยรัชกาลที่ 5
การเกิดข่าวลืออันเกี่ยวข้องกับเหตุไฟไหม้นับเป็นเรื่องที่สร้างความตระหนกตกใจให้กับผู้คนในเมืองหลวงอย่างมาก เพราะการเกิดเหตุข่าวลือมักเกิดจากผู้ที่มีจุด...
“ฝนตก” ครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์ของเมืองไทย
เมื่อเกิดฝนตกหนักทั่วไปในประเทศ สำหรับคนเมืองในกรุงเทพฯ และอีกหลายเมือง คงออกอาการเบื่อไปตามๆ กัน เพราะผลที่ตามมาเมื่อฝนตกคือ รถที่ติดอยู่แล้วติดหนักก...
แรกมี ‘น้ำมันก๊าด’ ใช้ในสยาม ราษฎรไม่คุ้นชินจนเกิดไฟไหม้หลายคดี
การให้แสงสว่างแก่ที่พักอาศัย ในยุคที่กรุงเทพฯ ยามค่ำคืนปราศจากแสงไฟฟ้าซึ่งต้องพึ่งพาแสงสว่างจากตะเกียงน้ำมันเป็นหลัก และแม้จะมีไฟฟ้าในกรุงเทพฯ เมื่อปี...
รัชกาลที่ 5 ออกกฎหมายคุมเข้ม “น้ำมัน” เพราะกลัวไฟไหม้บ้านเรือน
สยามเริ่มใช้ “น้ำมันก๊าด” แทนการใช้น้ำมันพืช และไขสัตว์ เพื่อใช้จุดตะเกียงให้แสงสว่างตามบ้านและถนนหนทางเป็นครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 2431 ซึ่งตรงกับรัชกาลพระบ...
11 กรกฎาคม 2540 ไฟไหม้โรงแรม “รอยัล จอมเทียน” เสียชีวิต 91 ราย
วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ได้เกิดไฟไหม้โรงแรมรอยัล จอมเทียน รีสอร์ต พัทยา โรงแรมหรูบนหาดจอมเทียน ในขณะที่มีผู้เข้าพักและร่วมงานสัมมนากว่า 800 คน ทำใ...