เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก เขมร

แท็ก: เขมร

พระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี

การเสื่อมสลายของปราสาทขอมในดินแดนไทย มาจากสาเหตุและปัจจัยใดบ้าง

ช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงจากการยึดถือศาสนาพราหมณ์ฮินดู ผสมผสานกับพุทธมหายานของขอม มาเป็นพุทธเถรวาทลังกา เมื่อราวต้นพุทธศักราช 1800 ในดินแดนลุ่มน้ำเจ้...
ปราสาทนครวัด นครวัด กัมพูชา เขมร สมัย พระนคร

เหตุใด อ็องรี มูโอต์ จึงกลายเป็นผู้ค้นพบปราสาทนครวัด

ชื่อของ อ็องรี มูโอต์ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในฐานะ “ผู้ค้นพบปราสาทนครวัด” ขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์กันว่า ความคิดนี้เป็นมายาคติ เพราะ “เมืองพระนค...

“ไทย” ในแบบเรียนประวัติศาสตร์กัมพูชา ตัวร้ายแย่งชิงดินแดน-นำความวิบัติสู่เขมร?

ประเด็นหนึ่งที่น่าหยิบยกมานําเสนอในที่นี้คือประเด็นอันเกี่ยวพันกับสํานึกร่วมทางประวัติศาสตร์ ซึ่ง "ไทย" และ "กัมพูชา" อาจมีโลกทัศน์ในเรื่องนี้แตกต่างก...
กรุงพนมเปญ กัมพูชา ค.ศ. 1953

สงกรานต์ไทย-โจลชนำทเม็ยเขมร เหมือน-ต่าง กันอย่างไร?

“สงกรานต์” ของไทย กับ “โจลชนำทเม็ย” หรือ สงกรานต์เขมร ซึ่งมีรากฐานมาจากอินเดียและคติทางพุทธศาสนาเหมือนกันนั้น เรื่องพิธีการ พิธีกรรมต่าง ๆ เหมือนกัน-ต...
การพนัน ปอยเปต

“ปอยเปต” กลายเป็นดินแดนการพนัน-คาสิโน ได้อย่างไร?

กัมพูชา ก็เหมือนประเทศเพื่อนบ้านในอุษาคเนย์ที่พบ "การพนัน" มาตั้งแต่ยุคโบราณนับร้อยนับพันปี แต่ปัจจุบัน กัมพูชา เป็นประเทศที่ค่อนข้างเปิดเสรีการพนัน ม...
Angkor Wat ภาพเขียน นครวัด โดย Lucille Sinclair Douglass

“สงครามศาสนา” ในแผ่นดินเขมร ส่วนหนึ่งของ “ยุคมืด” ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เมื่อกล่าวถึง “สงครามศาสนา” สงครามครูเสดอาจเป็นภาพจำแรก ๆ ที่หลายคนนึกออก อย่างไรก็ตาม ภูมิภาค “อุษาคเนย์” หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เองก็มีหลักฐานควา...
การพนัน เล่นถั่ว จิตรกรรมฝาผนัง

“อัปรีย์” แล้วทำไมต้องมี “สีกบาล” พ่วงต่อจนเป็น “อัปรีย์สีกบาล”?...

สำนวนที่ว่า "อัปรีย์สีกบาล" มักใช้เป็นสำนวนด่าว่าผู้ที่ทำอะไรไม่เหมาะสม คำว่า "อัปรีย์" คงไม่น่าสงสัยแต่อย่างใด เพราะแปลว่า "ไม่น่ารัก" เหตุที่แปลอย่า...
ประติมากรรม “Golden Boy” และ ปราสาทสระกำแพงใหญ่

น่าสงสัย!? ประติมากรรม “Golden Boy” เก่าแก่กว่ายุคพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 

ประติมากรรม “Golden Boy” ที่พิพิธภัณฑ์ The MET (The Metropolitan Museum of Art) สหรัฐอเมริกา กำลังจะส่งคืนไทยในเดือนพฤษภาคมนี้นั้น ภัณฑารักษ์ของ The M...

เปิดถิ่นฐาน “ชาวขแมร์” ในรัตนโกสินทร์ อยู่ตรงไหน ทำอะไรกันบ้าง?

ชาวขแมร์ (ชาวเขมร) เข้ามาอยู่อาศัยในกรุงศรีอยุธยาเป็นจำนวนมาก ทั้งการถูกกวาดต้อนเข้ามาเพื่อค้าขาย หรือเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร เช่น รัชสมัยสมเด็จพระเ...

ตำนาน “ออกญาสวรรคโลก (เมือง)” แม่ทัพกัมพูชาสละชีพเกณฑ์กองทัพผีต้านสยาม หรือต้านใ...

เป็นเรื่องธรรมดาที่แต่ละประเทศย่อมมี "วีรบุรุษ" เป็นของตัวเอง สำหรับกัมพูชา พวกเขามี ออกญาสวรรคโลก (เมือง) เป็นวีรบุรุษสำคัญอีกผู้หนึ่งของ กัมพูชา ...
พิธีบรมราชาภิเษก พระนโรดม กษัตริย์เขมร

ไทย “สถาปนา” กษัตริย์เขมรองค์สุดท้าย แต่ไฉนผู้สวมมงกุฎให้ กลับไม่ใช่ชาวสยาม...

ครั้นเมื่อความสัมพันธ์ระหว่างไทย-เขมร ที่ดูเป็นเมืองประเทศราช ซึ่งไทยปกป้องหวงแหนมากที่สุดนั้น เกิดมีมือที่สามและปัจจัยภายนอกเข้ามาเบียดบัง ทำให้ "กษั...
เสียมเรียบ เสียมราบ นครวัด กัมพูชา

“เสียมราบ” ชื่อนี้มาจากไหน ฤาเพิ่งถูกนำมาใช้สมัยกรุงรัตนโกสินทร์?

“เสียมราบ” หรือ “เสียมเรียบ” เป็นชื่อจังหวัดอันเป็นที่ตั้งของ ปราสาทนครวัด อันโด่งดังของกัมพูชา มีการอธิบายว่ามาจากตำนานที่ พระร่วง ผู้นำชาวเสียม (สยา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น