เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก เขมร

แท็ก: เขมร

ปราสาทนครวัด นครวัด กัมพูชา เขมร สมัย พระนคร สร้างโดย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 เหตุล่มสลาย

เรารู้ได้ไงว่า “พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2” เป็นผู้สถาปนา “นครวัด” ทั้งที่ไม่มีจารึก...

ปราสาทนครวัด ศาสนสถานที่โดดเด่นของเมืองพระนคร ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองพระนครธม ราชธานีของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แม้ไม่พบจารึกใด ๆ ชี้ไปยังตัวกษัตริย์ผู้สถา...
สมเด็จพระเจ้าตากสิน เสด็จตีเมืองพุทไธมาศ ยึดฮาเตียน ปัจจุบันอยู่ใน เวียดนาม โคลงภาพพระราชพงศาวดาร โดย นายอ่อน

พระเจ้าตาก ยึดฮาเตียน (พุทไธมาศ) “แบ่ง” เขมรกับอ๋องตระกูลเหงวียน

สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2314 เกิดสงครามยึดฮาเตียน เมืองท่าสำคัญปลายคาบสมุทรอินโดจีน ส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์การแผ่ขยายอำนาจของสมเด็จพระเจ้าตากสิน ท่ามกลางสภา...
ปราสาทพระบรมวิษณุโลก

ปราสาท “บรมวิษณุโลก” เปลี่ยนมาเป็น “นครวัด” เมื่อใด ทำไม?

ปราสาทพระบรมวิษณุโลก เปลี่ยนมาเป็น “นครวัด” เมื่อใด ทำไม? แม้ชื่อดั้งเดิมของศาสนสถานอันยิ่งใหญ่แห่งวัฒนธรรมลุ่มน้ำโตนเลสาบอย่างนครวัด นั่นคือ “พระบรม...

ตลอดชีวิต “พระเจ้าชัยวรมันที่ 7” กษัตริย์เมืองพระนคร เกิดอะไรขึ้นบ้างในประวัติศา...

พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ประสูติราว ค.ศ. 1120 สิ้นพระชนม์ราว ค.ศ. 1215) คือกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งกรุงยโสธรปุระ หรือเมืองพระนคร แม้เวลาจะผ่านไปร่วมพันปี ...
นักองค์อี นักองค์เภา

นักองค์อี นักองค์เภา 2 ราชนารี เชื่อมสัมพันธ์กัมพูชา-สยาม

นักองค์อี นักองค์เภา 2 ราชนารี ผู้เชื่อมความสัมพันธ์ราชสำนักกัมพูชา-สยาม ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีราชนารีจากต่างเมือง 2 พระองค์ ที่ปรากฏบทบาทในราชส...
กองทัพหลวง กรุงธนบุรี เมืองพุทไธมาศ เจ้าศรีสังข์ รัชทายาท กรุงศรีอยุธยา

ชะตากรรม “เจ้าศรีสังข์” พระราชนัดดา “พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ” ลี้ภัยการเมืองสู่เขมร...

"เจ้าศรีสังข์" เป็นพระโอรสในกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (เจ้าฟ้ากุ้ง) พระราชโอรสในพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ชะตากรรมชีวิตของเจ้าศรีสังข์...
จำปา ลั่นทม

จำปา (ลั่นทมสยาม) เข้าสู่ไทยอย่างไร ค้นหลักฐาน ไฉนกลายเป็น “ลีลาวดี”...

พืชในบ้านเรานี้มีหลากหลายชนิด บางชนิดมีหลายชื่อเรียก และปฏิเสธได้ยากว่า "จำปา" แห่งชมพูทวีปนั้นส่งอิทธิพลต่อวัฒนธรรมในแถบเอเชีย มีชื่ออย่างจำปามอญ จำป...
ปราสาทประธานของปราสาทตาเมือนธมซึ่งมีมณฑปต่อยื่นออกมาทางด้านหน้า

ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ปราสาทตาเมือนธมและปราสาทตาควาย

ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ “ปราสาทตาเมือนธม” และ “ปราสาทตาควาย” พื้นที่ชายแดนระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยกับภาคเหนือของประเทศกัมพูชามีปร...
ปราสาทประตูทอง

ปราสาทประตูทอง บายนบนอาคาร และงานมหกรรมอาณานิคม

ชานกรุงปารีส มีอาคารหลังโตอายุกว่า 90 ปี ตั้งสงบอยู่ริมสวนสาธารณะใหญ่ ชาวเมืองรู้จักอาคารหลังนี้ในนาม “ปราสาทประตูทอง” ปราสาทประตูทอง จุดเด่นของ...
นครวัด

“อองรี มูโอต์” ผู้ปลุกกระแสความนิยม “นครวัด” 

อองรี มูโอต์ นักสำรวจชาวฝรั่งเศส ผู้มีชื่อเสียงเรื่องการค้นพบนครวัด (อีกครั้ง/ครั้งใหม่) จนทำให้ชาวตะวันตกตกตะลึงในความยิ่งใหญ่ของปราสาทหินเขมร ออง...
เจ้านโรดมพรมบริรักษ์ กษัตริย์เขมร

เผยความในพระราชหฤทัย รัชกาลที่ 4 ถึงกษัตริย์เขมร หลังเสียดินแดนเขมรแก่ฝรั่งเศส

สมัยจักรวรรดินิยมที่ชาติมหาอำนาจแผ่อิทธิพลและจัดตั้งอาณานิคมในดินแดนต่าง ๆ เขมรในฐานะประเทศราชของสยามก็เผชิญการรุกคืบจากฝรั่งเศส พ.ศ. 2402 หลังจากฝรั่...
พิธีบรมราชาภิเษก พระนโรดม กษัตริย์เขมร

ไทย “สถาปนา” กษัตริย์เขมรองค์สุดท้าย แต่ไฉนผู้สวมมงกุฎให้ กลับไม่ใช่ชาวสยาม...

ครั้นเมื่อความสัมพันธ์ระหว่างไทย-เขมร ที่ดูเป็นเมืองประเทศราช ซึ่งไทยปกป้องหวงแหนมากที่สุดนั้น เกิดมีมือที่สามและปัจจัยภายนอกเข้ามาเบียดบัง ทำให้ "กษั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น