แท็ก: สามก๊ก
วรรณกรรม “สามก๊ก” ภาพสะท้อนความเป็น “อนิจจัง” ของประวัติศาสตร์จีนที่ต้อง “แตกแยก...
หากท่านเป็นสาวก - แฟนวรรณกรรม หรือมีโอกาสได้อ่านผลงานของหลอกว้านจง คือ “สามก๊ก” 1 ใน 4 วรรณกรรมอมตะของจีน คงเคยเห็นสำนวนหนึ่งที่ถูกใช้เกริ่นนำเพื่ออาร...
ย้อน “พินัยกรรม-คำสั่ง” โจโฉ ทำไมสั่งเสียเรื่องชีวิตบั้นปลายของเมียน้อยตน?...
รัชศกเจี้ยนอาน ปีที่ 25 (ค.ศ. 220) เดือนอ้าย โจโฉ ยอดคนใจฉกรรจ์ป่วยตาย (15 มีนาคม พ.ศ. 763) แต่เขาต่างจากท้าวพระยามหากษัตริย์อื่นตรงที่ไม่เพียงสั่งการ...
ทำไมปัญญาชนยุคสามก๊กส่วนใหญ่คิดว่าชีวิตสั้น ควรหาความสุขให้ทันเวลา
ทำไมปัญญาชนยุค "สามก๊ก" ส่วนใหญ่คิดว่า ชีวิตสั้น ควรหาความสุขให้ทันเวลา?
โจโฉมีร้อยกรองบทหนึ่งชื่อบทว่า “ต่วนเกอสิง-ลํานําเพลงสั้น” ทวีป วรดิลก แปล...
ขงเบ้ง ได้ภรรยาอัปลักษณ์ ตามที่มักเข้าใจกันจริงหรือ?
เรื่องเกี่ยวกับ "ภรรยา" อัปลักษณ์ของ "ขงเบ้ง" มีอยู่มาก ในหนังสือ “เซียงหยางฉีจิ้วจ้วน-ตำนานเก่าเมืองเซียงหยาง” กล่าวว่า ตอนปลายราชวงศ์ฮั่นพวกแซ่ไช่ (...
เล่าปี่เป็นพระเจ้าอาจริงหรือ? ค้นประวัติศาสตร์ฉบับหลวง ดูนัยจากนิยายสามก๊ก
เล่าปี่ เกิดในครอบครัวชาวบ้าน ฐานะยากจน ต้องสานเกือกทอเสื่อขาย แต่ในนิยายสามก๊กบทที่ 20 เขียนไว้ว่า เมื่อเล่าปี่เข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ “โปรดให้เอาปู...
แยกกันนั่ง แยกกันกิน ชนชั้นนำยุคสามก๊ก เล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ไม่มีใครกินโต๊ะเดี...
จีนเป็นชาติที่เคร่งครัดระเบียบประเพณีมาแต่โบราณ บางเรื่องก็เป็นเรื่องดีเกิดประโยชน์ บางเรื่องก็เป็นความเยอะเข้าขั้นหยุมหยิม แต่เมื่อสภาพแวดล้อมทางสังค...
ทำไมโจโฉถูกเรียกว่า “กังฉินหน้าขาว” ?
ตอนปลายราชวงศ์ฮั่น บ้านเมืองแตกแยก ขุนศึกชิงอำนาจกัน โจโฉ นำทัพก่อการ กำจัดลิโป้ (หลี่ว์ปู้) ปราบเตียวซิ่ว (จางซิ่ว) พิฆาตอ้วนสุด (หยวนซู่) และอ้วนเสี...
ศึกสุดท้ายของขงเบ้ง ขงเบ้งคนตาย หลอกสุมาอี้คนเป็น
ระหว่าง พ.ศ. 771-774 ขงเบ้งยกพลขึ้นเหนือไปโจมตีวุยก๊กของโจโฉ ถึง 4 ครั้งติดกัน แต่ก็เกิดเหตุไม่คาดคิดขึ้นทุกครั้ง จึงไม่อาจบุกไปยังกวนจงและเข้าประชิดล...
ทำไมขงเบ้งถูกเรียกขานว่า “ฮกหลง (ฝูหลง)” หรือ “ว่อหลง” ?
พงศาวดารสามก๊กจี่ ภาคจ๊กก๊ก บทประวัติขงเบ้ง เผยซงจือทำอรรถาธิบายโดยอ้างอิงข้อความจาก “เซียงหยางจี้ (บันทึกเมืองเซียงหยาง)” ว่า “เล่าปี่ไปขอคำแนะนำเรื่...
เล่าปี่ ล้มอุบาย “งานเลี้ยงหงเหมิน” เพราะหวังรับทั้งเงินทั้งกล่อง
“งานเลี้ยงหงเหมิน” เป็นกลอุบายที่ในยุคไซ่ฮั่น เมื่อฟ่างเจินที่ปรึกษาของเซี่ยงหยี่ (หรือ ฌ้อปาอ๋อง) วางแผนให้เชิญหลิวปัง (เล่าปัง) มาร่วมงานเลี้ยงเพื่อ...
หลัก 7 ข้อที่กองทัพจีนสมัยสามก๊กพึงปฏิบัติ มี “ที่ปรึกษาผู้มีปัญญา” ถึง “แผนกร้อ...
"สามก๊ก" ไม่เพียงเป็นวรรณกรรมจีน (อิงประวัติศาสตร์) หากแต่ยังเป็นตำราพิชัยยุทธในหลายด้าน ตั้งแต่เชิงการรบการทำสงคราม บริหารจัดการ และอื่นๆ อีกมากมาย ใ...
เปิดประวัติ นางชีฮูหยิน วีรสตรีผู้รักษาเมืองตันเอี๋ยง แห่งสามก๊ก
นางชีฮูหยิน เป็นหนึ่งในวีรสตรีที่มีอยู่เพียงไม่กี่คนในวรรณกรรมสามก๊ก นางชีฮูหยินเป็นภรรยาของซุนเซียง ซุนเซียงผู้นี้เป็นบุตรชายของซุนเซ็กแห่งง่อก๊ก และ...