แท็ก: สามก๊ก
ศึกสุดท้ายของขงเบ้ง ขงเบ้งคนตาย หลอกสุมาอี้คนเป็น
ระหว่าง พ.ศ. 771-774 ขงเบ้งยกพลขึ้นเหนือไปโจมตีวุยก๊กของโจโฉ ถึง 4 ครั้งติดกัน แต่ก็เกิดเหตุไม่คาดคิดขึ้นทุกครั้ง จึงไม่อาจบุกไปยังกวนจงและเข้าประชิดล...
ทำไมขงเบ้งถูกเรียกขานว่า “ฮกหลง (ฝูหลง)” หรือ “ว่อหลง” ?
พงศาวดารสามก๊กจี่ ภาคจ๊กก๊ก บทประวัติขงเบ้ง เผยซงจือทำอรรถาธิบายโดยอ้างอิงข้อความจาก “เซียงหยางจี้ (บันทึกเมืองเซียงหยาง)” ว่า “เล่าปี่ไปขอคำแนะนำเรื่...
เล่าปี่ ล้มอุบาย “งานเลี้ยงหงเหมิน” เพราะหวังรับทั้งเงินทั้งกล่อง
“งานเลี้ยงหงเหมิน” เป็นกลอุบายที่ในยุคไซ่ฮั่น เมื่อฟ่างเจินที่ปรึกษาของเซี่ยงหยี่ (หรือ ฌ้อปาอ๋อง) วางแผนให้เชิญหลิวปัง (เล่าปัง) มาร่วมงานเลี้ยงเพื่อ...
หลัก 7 ข้อที่กองทัพจีนสมัยสามก๊กพึงปฏิบัติ มี “ที่ปรึกษาผู้มีปัญญา” ถึง “แผนกร้อ...
"สามก๊ก" ไม่เพียงเป็นวรรณกรรมจีน (อิงประวัติศาสตร์) หากแต่ยังเป็นตำราพิชัยยุทธในหลายด้าน ตั้งแต่เชิงการรบการทำสงคราม บริหารจัดการ และอื่นๆ อีกมากมาย ใ...
เปิดประวัติ นางชีฮูหยิน วีรสตรีผู้รักษาเมืองตันเอี๋ยง แห่งสามก๊ก
นางชีฮูหยิน เป็นหนึ่งในวีรสตรีที่มีอยู่เพียงไม่กี่คนในวรรณกรรมสามก๊ก นางชีฮูหยินเป็นภรรยาของซุนเซียง ซุนเซียงผู้นี้เป็นบุตรชายของซุนเซ็กแห่งง่อก๊ก และ...
ขงเบ้งใช้วิชาอะไร? เรียกลมจนเป็นฝ่ายชนะในศึก “ผาแดง”
ใน “สามก๊ก” ตอนศึกเซ็กเพ็ก หรือศึกผาแดง (ที่จอนห์ วู นำมาทำเป็นภาพยนต์ใช้ชื่อว่า สามก๊ก ตอนโจโฉแตกทัพเรือ) กุนซือและแม่ทัพหลายคนสำคัญที่แสดงฝีมือในการ...
คำสั่งเสียของ “เล่าปี่” เพื่อลองใจและซื้อใจขงเบ้ง รัชกาลที่ 4 ทรงใช้กับเจ้านายผู...
วรรณกรรม “สามก๊ก” ฉบับสำนวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) กล่าวถึงเล่าปี่ เมื่อป่วยหนัก ใกล้สิ้นใจ ว่าให้ทหารไปแจ้งกับขงเบ้งกุนซือคนสำคัญ และลิเงียม ขุนนางจากต...
ทำไมอ้วนสุด จึงเรียกอ้วนเสี้ยว พี่ชายตนเองว่า “ขี้ข้าในบ้านกู”
ในนิยายสามก๊ก “แซ่อ้วน” เป็นแซ่อัครมหาเสนาบดีติดต่อกันสี่ชั่วคน มีเกียรติคุณโด่งดังอยู่ในยุคนั้น แต่ “อ้วนเสี้ยว-อ้วนสุด” พี่น้องคู่หนึ่งของตระกูลอ้วน...
เล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ตำนานแห่งสามก๊ก สาบานเป็นพี่น้องกันในสวนท้อจริงหรือ?
เรื่องการสาบานในสวนท้อมาจากนิยาย สามก๊ก บทที่ 1 “ในสวนท้อสามทกล้าร่วมสาบาน ปราบโจรมารวีรชนประเดิมชัย” เล่าสืบกันมาว่าตอนปลายราชวงศ์ฮั่น บ้านเมืองจลาจล...
ทําไมองุ่นเป็นผลไม้ยอดนิยมของไฮโซในยุคสามก๊ก
ในเอกสารยุคราชวงศ์ฮั่นและถังมีการบันทึกถึง “องุ่น” ผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่แถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทะเลสาบแคสเปียน องุ่นก็ค่อยๆ แพร่ไปทางตะวันออก เ...
นรลักษณ์สุมาอี้มีอะไรไม่ดี โจโฉจึงระแวงว่าจะชักนำเภทภัย
ยุคราชวงศ์ฮั่นและยุคสามก๊ก วิชานรลักษณ์ (โหงวเฮ้ง) แพร่หลายมาก วิชานี้ดูลักษณะของอวัยวะทั้งห้าบนใบหน้า (คิ้ว ตา จมูก ปาก หู) หรืออวัยวะส่วนอื่น เพื่อพ...
“เกงจิ๋วยืมนาน ไม่ยอมคืน” สำนวนสอนใจที่เกิดจากเล่าปี่ “หย่อนคุณธรรม”
ในวรรณกรรมสามก๊ก “บุรุษผู้สูงเจ็ดฉื่อห้าชุ่น มีแขนยาวถึงเข่า และมีใบหูใหญ่ที่ตัวเองสามารถชำเลืองตาไปมองเห็นได้” มีนามว่า “เล่าปี่” เป็นสุขุมเยือกเย็น ...