เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก สงคราม

แท็ก: สงคราม

“ชาวอยุธยา” รับใช้กษัตริย์พม่า ไฉนเจ้านายพม่ากล้าให้รักษาประตูเมือง-วัง-กองทหารม...

เป็นที่รู้กันว่าสมัยสงครามที่อยุธยารบพุ่งกับพม่า ชาวอยุธยาที่ถูกกวาดต้อนไปที่พม่าก็มีไม่น้อย แต่คำถามคือใครที่ถูกกวาดต้อนไปบ้าง และมีใครไปพึ่งพระบรมโพ...

สงครามไซเบอร์ครั้งแรกๆ ของโลก และการก้าวข้ามนิยาม IO สู่ภัยจากรัฐชาติ

สงครามคือสิ่งที่ปรากฏในประวัติศาสตร์มนุษยชาติมายาวนาน ตั้งแต่ยุคการรบพุ่งระหว่างกลุ่มชนต่างๆ มาจนถึงการเป็นรัฐชาติ กระทั่งเทคโนโลยีการทหารถูกพัฒนามาถึ...

บันทึกทหารไทยในฝรั่งเศส เมื่อ WW2 ปะทุ ฝรั่งเศสแพ้ยับเพราะ “มุ่งหาความสุขสบาย” ?...

ร.อ.วิชา ฐิตวัฒน์ (ยศในขณะนั้น) ทหารไทยที่ได้ไปเรียนยุโรปในช่วงเวลาที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เขียนบันทึกลงหนังสือ "คนไทยในกองทัพนาซี" ซึ่งเรื่องรา...

กองทัพไทยจัดกําลังพลไปรบในสงครามมหาเอเชียบูรพา

เมื่อญี่ปุ่นขยายอิทธิพลในทวีปเอเชีย ด้วยการบุกเข้ายึดครองแมนจูเรีย (พ.ศ. 2476) และทำสงครามกับประเทศจีน (พ.ศ. 2480) ทำให้ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ จีน และเน...

ลัทธิทหารแบบฮินดูในอินเดีย ดูวิถีการรบโบราณ ถึงธรรมเนียมคร่าชีวิตในสงคราม

อินเดียในยุคโบราณเป็นอีกหนึ่งอารยธรรมที่ส่งอิทธิพลต่อโลกในเวลาต่อมา หากพูดถึงในเชิงปรัชญาการเมืองแล้ว นักวิชาการยอมรับว่า อินเดียไม่มีปรัชญาทางการเมือ...
ทหาร ใน สมรภูมิแห่งกัลลิโพลี และ วินสตัน เชอร์ชิล

“สมรภูมิแห่งกัลลิโพลี” สงครามที่อังกฤษต้องปราชัย บทเรียนสำคัญของ “วินสตัน เชอร์ช...

สมรภูมิแห่งกัลลิโพลี (Battle of Gallipoli) เป็นหนึ่งในการรบที่ดุเดือดและเป็นที่กล่าวถึงมากเหตุการณ์หนึ่งในสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914-1918) ผู้อยู่...

มนัส โอภากุล เล่าไทยสมัยสงครามโลก เกิดอะไรขึ้นเมื่อยามบนหอระวังภัยหลับ

ข้าพเจ้าเกิดปีขาล พ.ศ. 2457 ปีเดียวกันกับสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น สู้รบกัน 4-5 ปี สงบเมื่อปี พ.ศ. 2461 เพิ่งลืมตาดูโลกคงไม่รู้เรื่องอะไร ค่อย ๆ...

“เจคอบ มิลเลอร์” ทหารผ่านศึกที่รอดชีวิตจากการ “ถูกยิงกลางหน้าผาก” ได้หลายสิบปี...

เจคอบ มิลเลอร์ (Jacob Miller) เป็นทหารอาสาแห่งอินเดียนาของฝ่ายสหภาพ (รัฐบาลกลางสหรัฐฯ) ในช่วงสงครามกลางเมืองของสหรัฐฯ ในช่วงเช้าของวันที่ 19 กันยายน 1...

วีรกรรมเรือดำน้ำในไทย มาช่วยจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้ากทม. สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

ยุทโธปกรณ์ถือเป็นปัจจัยสำคัญของกองทัพในการทำสงคราม แต่บางครั้งก็ถูกนำมาใช้อำนวยความสะดวกแก่พลเรือนดังเช่นข้อมูลที่ปรากฏในเอกสารบันทึกโดยศูนย์ยุทธศาสตร...

เปิดหลักฐานไทย-พม่า สงครามอยุธยาปะทะหงสาวดี ก่อนถึงเสียกรุงฯ

สงครามเมืองเชียงกราน พ.ศ. 2081 ไม่ได้เป็นสงครามครั้งแรกระหว่างอยุธยากับพม่า (ราชวงศ์ตองอู) ดังที่เคยเข้าใจกันมา ดังที่ ศาสตราจารย์ ดร. สุเนตร ชุตินธรา...
สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 บ้านเมืองถึงคราววิบัติ “ล่มสลาย” บ้านแตกสาแหรกขาด ภาพนี้เป็นจิตรกรรมฝาผนังจัดแสดงภายในอาคารภาพปริทัศน์ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ

สงครามกับพม่าช่วงเสียกรุงกับ “ผลดี” ต่อการปรับเสถียรภาพการเมืองอยุธยา...

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในเชิงคู่สงครามเป็นที่เข้าใจว่าพม่าสร้างความเสียหายต่อไทยเหลือคณา อย่างไรก็ตาม ในมุมมองของนักวิชาการที่มองผลกระทบจากสงครา...

“เพนนิซิลลิน” ยาปฏิชีวนะเพื่อมนุษยชาติ ที่เกิดท่ามกลางสงคราม

หนึ่งในสิ่งที่ถือว่าขัดแย้งกันเองมากที่สุดของสงครามก็คือ บ่อยครั้งมันนําไปสู่ความก้าวหน้าครั้งสําคัญด้านเทคโนโลยีและการแพทย์ ซึ่งพิสูจน์แล้วว่าเป็นประ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น