เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ประเพณี

แท็ก: ประเพณี

ถอดความหมายคำว่า “ดนตรี” ที่แต่เดิมไม่ได้หมายถึงการดีดสีตีเป่า

เดิมทีดูเหมือนคนที่พูดภาษาตระกูลไต-ลาว เคยเรียก ดนตรี ว่า “การร่ายรำทำเพลง” หรือการ “ดีดสีตีเป่า” คำว่า “ดนตรี” น่าจะเป็นคำที่เข้ามาภายหลัง, เพราะเป็...

สาดน้ำสงกรานต์ มีตั้งแต่เมื่อใด? ค้นหลักฐานเอกสารโบราณเพื่อหาคำตอบ

สงกรานต์สาดน้ำนั้น มีมาแต่เมื่อไร เป็นคำถามที่ยังไม่มีคำตอบแน่ชัด จากการสืบค้นโดย ภาษิต จิตรภาษา คอลัมนิสต์ในนิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม พบว่า เอกสารที่เกี่ย...

ทำไมถึงมีประเพณี “แย่งศพ” ของมอญ เรื่องนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร?

...ประเพณีแย่งศพของมอญนั้น เชื่อกันว่ามีที่มาจากธรรมเนียมของกษัตริย์มอญ ที่เริ่มขึ้นในรัชกาลพระเจ้าธรรมเจดีย์แห่งกรุงหงสาวดี (ครองราชย์ พ.ศ. 2013-35) ...

ธรรมเนียมสืบทอดมรดกในสยาม ทำไมเจ๊สัวเนียม ยกทรัพย์สินมหึมา(ตลาด)ให้ลูกสาวแทนบุตร...

ธรรมเนียมการแบ่งมรดกเป็นเรื่องสำคัญ และมักส่งผลสะท้อนกลับมายังระบบเศรษฐกิจของสังคมนั้นๆ เสมอ โครงสร้างเศรษฐกิจของคนต่างวัฒนธรรมจึงมีลักษณะแตกต่างกันออ...

“อุ้มหมูเข้าเล้า” การละเล่นโบราณของคนไทย

งานรื่นเริงปีใหม่ไทย มักมีประเพณีและแสดงการละเล่นต่าง ๆ มากมายของแต่ละท้องถิ่น แต่ช่วงหลังปรากฏว่า "ชักจะเนือย ๆ กันเสีย ประเพณีอันดีงามนี้จึงได้ค่อย ...

การอบรมเจ้านายเล็กๆ ในพระราชสำนักฝ่ายใน เฆี่ยนตีสั่งสอนโอรสธิดาถึงจับหักงอนิ้ว!

เจ้านายเล็กๆ และเด็กหญิงชายในพระราชสำนักฝ่ายในนั้น นอกจากพระราชโอรสพระราชธิดาแล้ว ยังมีพระโอรสธิดาของพระบรมวงศานุวงศ์ ตลอดจนบุตรธิดาของข้าราชการชั้นผู...

“โลโก้-โลโต-โลกัคราช” คำคล้าย แต่ความหมายต่าง

โลโก้ (Logo) หมายถึงตราสัญลักษณ์ของสินค้า หรือรูปแบบสัญลักษณ์ขององค์กร ติดอยู่บนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ในภาษาอังกฤษหมายถึงตรา หรือรูปแบบสัญลักษณ์ ที่สื่อ...

พระราชดำรัส ร.5 ทรงยกเลิก “หมอบคลาน” ปรับธรรมเนียมครั้งใหญ่ช่วงต้นรัชสมัย...

สำรวจความเป็นของพระราชดำรัสใน รัชกาลที่ 5 ทรงยกเลิก "หมอบคลาน" ปรับธรรมเนียมครั้งใหญ่ช่วงต้นรัชสมัย “---ธรรมเนียมที่หมอบคลานนั้น ให้เปลี่ยนอิริยาบถ...

กำเนิดคำว่า “โมง” ย้อนดูชาวสยามนับเวลา ถึงยุคชนชั้นนำไม่เชื่อว่า “นาฬิกา” แม่นยำ...

...สมัยโบราณมนุษย์รู้จักกำหนดเวลาโดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างคร่าวๆ เช่น แบ่งช่วงเวลาออกเป็นกลางวัน-กลางคืน ฤดูร้อน-ฤดูหนาว เป็นต...

เอกลักษณ์ในที่พักของชาวไทดำ “เฮือนไทดำ” เมืองแถง (เดียนเบียนฟู) เวียดนาม...

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในศิลปะงานช่างโดยเฉพาะประเภทที่พักอาศัย หรือภาษาถิ่นนิยมเรียกว่า “เฮือน” ของผู้คนในกลุ่มวัฒนธรรมทางภาษาตระกูลไท-ลาว จน...

สูตรขนมหวานฉบับ “ท้าวทองกีบม้า” คิดเองในสยาม หรือสูตรจากญี่ปุ่น?

ท้าวทองกีบม้า ต้องตกอับอยู่ช่วงหนึ่ง จนถึงปีพ.ศ. 2233 ได้รับอนุญาตให้มาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านโปรตุเกส และถูกบังคับให้ทำอาหารหวานส่งเข้าวังตามอัตราที่กำหน...

ประเพณีราษฎร์-ประเพณีหลวง แยกกันอย่างโดดเดี่ยว หรือสัมพันธ์กันอย่างไร

นาฏศิลป์ดนตรี, การร้องรำทำเพลง และกิจกรรมละเล่นต่างๆ ของไทย เรามักได้ยินกันอยู่บ่อยๆ ว่าเป็น “ประเพณีราษฎร์” บ้าง “ประเพณีหลวง” บ้าง แล้วประเพณีทั้งสอ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น