เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก ประวัติศาสตร์

แท็ก: ประวัติศาสตร์

ภาพถ่าย แคนวงใหญ่ ของทหาร ที่ อุบลราชธานี เป่าแคน สมับรัชกาลที่ 5

ทำไมจังหวัดอุบลราชธานี ลงท้ายด้วย “ราชธานี” ทั้งที่ไม่ใช่เมืองหลวง

ในบรรดาจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทย มีเพียงจังหวัด “อุบลราชธานี” จังหวัดเดียวที่ลงท้ายว่า “ราชธานี” ซึ่งแปลว่าเมืองหลวง แม้จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ธนบุรี...
เจ้าอนุวงศ์

ประวัติศาสตร์ลาว ฉบับชาวฝรั่งเศสเขียน อ้าง “เจ้าอนุวงศ์” บุกถึง “กรุงเทพฯ”

ประวัติศาสตร์ลาว ฉบับชาวฝรั่งเศสเขียน อ้างว่า “เจ้าอนุวงศ์” ยกทัพบุกถึง “กรุงเทพฯ” ก่อนพ่ายแพ้ให้แก่กองทัพของสยาม? ผมไปทำงานเป็นที่ปรึกษาอยู่ที่ประเท...
หลักฐาน โบราณคดี สุสาน จิ๋นซีฮ่องเต้ จีน

สุดยอดการค้นพบ 10 หลักฐาน “โบราณคดี” เปลี่ยนโลก

บนโลกใบนี้ มีการจัดอันดับการค้นพบ หลักฐาน ทาง "โบราณคดี" อยู่หลายครั้ง เช่น แอนติเพทรอส ไซดอนิออส (Antipatros Sidonios) นักปราชญ์และกวีชาวกรีก ซึ่งมีช...
ขบวนพาเหรด ฉลองวันชาติ ไต้หวัน

ขณะที่ “ไต้หวัน” สู้เพื่อเป็นประเทศเสรี เขาสร้างประวัติศาสตร์-อัตลักษณ์ตนเองอย่า...

ไต้หวัน เริ่มเป็นที่รู้จักตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 หรือราว 400 ปีก่อน โดยนักเดินเรือชาวโปรตุเกส ในนามของ Ilha Formosa และในเวลาเพียง 400 ปี ก็พัฒน...

“ธงทอง-ชานันท์” ชี้ “พงศาวดารกระซิบ”เรื่องเล่ากอสสิป สร้างสีสันให้อดีต

พงศาวดารกระซิบ เป็นเรื่องที่อยู่คู่สังคมไทยมานาน หากประวัติศาสตร์มี “พงศาวดาร” เป็นตัวระบุเหตุการณ์สำคัญของกลุ่มชนชั้นนำ “พงศาว...

ประวัติศาสตร์สยาม ฉบับผู้หญิงแต่ง จดหมายความทรงจำ “เจ้าครอกโพ”

เป็นความอาภัพของประวัติศาสตร์โลก และประวัติศาสตร์ไทย ที่ส่วนใหญ่เป็นเรื่องที่แต่งขึ้นโดยผู้ชาย เป็น History คือเป็นเรื่องของผู้ชายแทบทั้งสิ้น ในพระ...

แอนนา เลียวโนเวนส์ ใครว่าหล่อนตอแหล?

แอนนา เลียวโนเวนส์ คือครูสอนภาษาอังกฤษในราชสำนักสยาม สมัยรัชกาลที่ 4 เรื่องราวที่ แอนนา เลียวโนเวนส์ บันทึก ทำให้เห็นชีวิตในราชสำนัก แต่ก็มีหลายจุดที่...

การศึกษาเรื่องชุดเกราะของนักรบ ในประเทศไทย ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24

เกราะ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายไว้ว่า “เครื่องสวมใส่หรือเครื่องหุ้มสำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย” ซึ่งเกราะที่ใช้หุ้มส่...

ความหมายเบื้องหลังเรื่องเล่า “พระเจ้าอู่ทอง” ปราบ “นาค” ก่อนตั้งกรุงศรีอยุธยา...

ความเชื่อเรื่องนาค แพร่หลายในอุษาคเนย์เป็นเวลายาวนาน ทุกวันนี้ความเชื่อเรื่องนาคยังดำรงอยู่อย่างแรงกล้า สะท้อนผ่านสภาพสังคมและวัฒนธรรม สื่อบันเทิงซึ่ง...

มอง “ลาว” ผ่านแบบเรียนกระทรวงศึกษาธิการ ที่นำไปสู่แนวคิด “บ้านพี่เมืองน้อง”...

“ชาตินิยม” คือความรู้สึกของผู้คนในประเทศนั้นๆ ที่รู้สึกว่าตนเองคือเจ้าของประเทศและมีพันธกิจรวมกันคือปกป้องรักษาเกียรติภูมิของประเทศ โดยกระบวนการสำคัญใ...

ร่องรอยแผ่นเสียงเพลงไทยที่สาบสูญ ไม่มีใครสนใจหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

เดิมทีเพลงไทยที่ร้องบรรเลงสืบต่อกันมา ไม่ได้มีการจดทำนองไว้เป็นตัวโน้ตดังเพลงคลาสสิคของฝรั่ง ครั้งกระโน้นเพลงไทยมีความใกล้ชิดกับธรรมชาติอยู่มาก แม้วิธ...

ผ่าปมเฒ่าสาเล่าเรื่อง “หนังราชสีห์” ที่ขุนหลวงเอกทัศรับสั่งว่ารักษาให้ดี ก่อนเสี...

ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีเรื่องเล่าเรื่องหนึ่งเป็นเรื่องแปลกน่าสนใจพบในประชุมพระราชพงศาวดาร ภาค 7 “คำให้การของเถ้าสา เรื่อง หนังรา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น