เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก จอมพล ป.

แท็ก: จอมพล ป.

“เลือกตั้งสกปรก สกปรกตั้งแต่ออกแบบรธน.” ดูกลเบื้องหลังเลือกตั้งสกปรก 2500

ปรากฏการณ์ความไม่ชอบมาพากลที่พบเห็นในการเลือกตั้งเป็นเรื่องที่เคยถูกบันทึกในประวัติศาสตร์การเมืองไทยมาก่อนแล้ว โดยเฉพาะการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2500 ซึ่...

รัฐบาลจอมพล ป. ส่งเสริม หรือย่ำยีดนตรีไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ดนตรีไทยที่ผ่านมามักให้ข้อสรุปว่า สาเหตุที่ดนตรีไทยตกต่ำเกิดจากนโยบายการปรับปรุงดนตรีไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ช่วงสงคราม...

เผยเบื้องหลังเสี่ยงตาย!! แผนพา “จอมพล ป.” หนีออกนอก ที่เมืองตราด

เดือนกันยายน 2500 จอมพล ป. พิบูลสงคราม หนีออกนอกประเทศ ที่จังหวัดตราด ด้วยช่องทางธรรมชาติ เป็นเรื่องราวที่ทราบกันโดยทั่วไป แต่ใครเป็นผู้พา จอมพล ป.หลบ...

25 มกราคม 2485 ไทยประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และอังกฤษ

“จากการประกาศของสถานีวิทยุโตเกียวซึ่งบันทึกไว้โดยเดอะยูไนเต็ดเพรสระบุว่า ประเทศไทยได้ประกาศสงครามต่อบริเตนใหญ่ (อังกฤษ) และสหรัฐอเมริกา พร้อมได้สั่งเค...

จอมพล ป. เจ็บใจช่วงตรุษจีน เจ๊กขายหมู-ร้านขายกับข้าวปิดร้านหมด

“---รู้สึกเจ็บใจที่ถึงตรุษจีนทีไร เจ๊กปิดร้านขายของหมด หมูก็ไม่มีกินกับข้าวก็ไม่มีขาย เป็นเพราะคนไทยชอบแต่สบาย ทำราชการ ไม่รู้จักหัดทำมาค้าขายกับเขาบ้...

นโยบายสร้างชาติของจอมพล ป. “รถไฟต้องมา”

จอมพล ป. พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งผู้นำประเทศถึง 2 สมัย (พ.ศ. 2481-2487 และ พ.ศ. 2491-2500) ได้พยายามสร้างเส้นทางคมนาคมโดยใช้รถไฟเป็นตัวขับเคลื่อนนโยบาย...

ทหารผู้ทำลาย “เรือหลวงศรีอยุธยา” ในกบฏแมนฮัตตัน เผยไม่ได้ตั้งใจแต่เพราะระเบิดเสื...

ภาพเรือหลวงศรีอยุธยาขณะจมลงในเหตุการณ์ “กบฏแมนฮัตตัน” ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ขณะที่ จอมพล ป. พิบูลย์สงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้...

กำเนิดกองทัพสมัยใหม่ในสยาม ก่อนกลายเป็นฐานอํานาจทางการเมืองของผู้นําทหาร

การสร้างกองทัพสมัยใหม่ของสยาม เริ่มก่อตัวขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการจ้างนายทหารนอกราชการชาวอังกฤษมาเป็นครูฝึกกองทหาร...

28 พฤศจิกายน 2483 ฝรั่งเศสบอมบ์นครพนม เปิดฉากสงคราม “กรณีพิพาทอินโดจีน”

จากภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ ที่มหาอำนาจยุโรปแผ่อิทธิพลของลัทธิอาณานิคมเข้ามาในเอเชียตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บางประ...

ทำไมคณะราษฎร “ปลื้ม” พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

หากพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภากับกลุ่มคณะราษฎร ก็จะพบมิติความสัมพันธ์เชิงบุคคลระหว่างพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์...

ที่มาถนนสุขุมวิท ทางหลวงสำคัญสู่ภาคตะวันออก ที่จอมพล ป.ใช้หนีการรัฐประหาร

ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3 (ทางหลวงสายกรุงเทพฯ-ตราด) เปลี่ยนชื่อมาเป็น “ถนนสุขุมวิท” เมื่อคณะรัฐบาลสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้มีมติ ให้ตั้งชื่อทางหลวง...

14 กันยายน 2485 : ยืนตรงเคารพธงชาติไทยเป็นครั้งแรก

“ธงชาติและเพลงชาติไทย ...เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นไทย...เราจงร่วมใจกันยืนตรงเคารพธงชาติ...ด้วยความภาคภูมิใจในเอกราชและความเสียสละของบรรพบุรุษไทย...” ข้...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น