เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก จอมพล ป.

แท็ก: จอมพล ป.

การปิดโรงเรียนจีน และห้ามสอนภาษาจีน ในประเทศไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป.

ทุกวันนี้ที่ภาษาจีนเป็นหนึ่งในภาษาสากลที่ใช้เป็นสื่อกลางในหลายประเทศ หลายโรงเรียนสอนภาษาจีนเป็นภาษาที่ 3 ในทุกหลายระดับชั้น นักเรียนสายศิลป์หลายโรงเรี...

จอมพล ป. เปลี่ยนพิธีสวนสนามกองทัพไทย ?!?

จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นหนึ่งในผู้นำที่ดำรงแหน่งสำคัญต่างๆ เช่น ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, นายกรัฐมนตรี ฯลฯ นอกจากนี้ยังอยู่...

จอมพล ป. นายทหารที่สามัญชน ที่ได้ยศ “จอมพล” เป็นคนแรก

ในประวัติของกองทัพไทย มีนายทหารที่เป็น “สามัญชน” ซึ่งได้รับตำแหน่ง “จอมพล” ทั้งหมด 10 นาย ดังนี้ 1. เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตร...

นโยบายจอมพล ป. ให้ผู้หญิงเป็นทหาร พร้อมตั้งค่ายทหารหญิง กรมทหารหญิง

เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ใช้นโยบายชาตินิยมและทหารนิยมในการปกครองประเทศ ทำให้กองทัพกลายเป็นกลไกหลักในการนำพาความภาคภูมิมาสู่บ้านเม...

เมืองไทย นายกฯ ไทย หลังญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2

เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ โดยญี่ปุ่นยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข ฝ่ายสัมพันธมิตรโดยเฉพาะอเมริกาที่เข้ามาตั้งกองบัญชาการในภารกิจพิเศษติดตามและจับกุมนาย...

ย้อนดูชีวิต “นายร้อยหยิง” ปี 2486 นายร้อยหญิงรุ่นแรก เรียนและฝึกอะไรกัน?

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ 2485 รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และกองทัพไทยเปิดรับ “นักเรียนนายน้อยหยิง” (สะกดตามต้นฉบับ) เป็นครั้งแรกของประเทศ มีผ...

ความขัดแย้งสำคัญ 3 ช่วงในคณะราษฎร จนถึงการปิดฉากคณะราษฎร

ความขัดแย้งภายในคณะราษฎรพอจะจำแนกครั้งสำคัญอยู่ 3 ช่วงเหตุการณ์ คือ 1. การนำเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ พ.ศ. 2476 ถึงกบฏกรมขุนชัยนาทนเรนทร พ.ศ. 2481 2. สง...

ทำไมจอมพล ป. จึงสนับสนุนการเสด็จฯ ทรงเยี่ยมราษฎร ตจว. ของรัชกาลที่ 9?

เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 อูนุได้กราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดชให้เสด็จฯ เยือนสหภาพพม่าเพื่อทรงเปิดการประชุมสังคายนาพระไตรปิฎ...

แม่น ชลานุเคราะห์ ผู้อ่านคำแถลงการณ์คณะปฏิวัติยุคแรกๆ ของไทย

แม่น ชลานุเคราะห์ (พ.ศ. 2445-2516) บุตรชาย พระยาชลธารวินิจฉัย และคุณหญิงชื้น ชลานุเคราะห์ อดีตโฆษกวิทยุกรมประชาสัมพันธ์ ผู้อ่านประกาศแถลงการณ์คณะปฏิวั...

“เงินช่วยชาติในภาวะคับขัน” ภาษีที่รัฐบาลเรียกเก็บเพิ่มช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2

ประเทศไทยจำต้องเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อเช้าวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นพลขึ้นบกในพื้นที่ของประเทศไทยหลายแห่ง เช่น ส...

อนามัยเรื่อง “กิน” เพื่อความปลอดภัยจากอหิวาต์ สมัยจอมพล ป.

“กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ” คาถาหนึ่งที่ท่องกันจนขึ้นใจ และใช้กันอย่างจริงจังเมื่อเกิดโรคระบาด ไม่ว่าจะเป็นไข้หวัดใหญ่ จนถึงโควิด19 ที่เรากำลังเผชิญอยู...
เรือหลวงศรีอยุธยาสถานที่กักตัว จอมพล ป. ในกบฏแมนฮัตตัน (ภาพจาก ทหารเรือกบฏฯ)

เบื้องหลังกบฏแมนฮัตตัน กับเหตุที่ต้อง “เลื่อน” ถึง 5 ครั้ง

‘กบฏแมนฮัตตัน’ ที่เกิดขึ้นในบ่ายวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 และสิ้นสุดลงตอนเย็นวันที่ 1 กรกฎาคม  2494 เป็นความพยายามของทหารเรือกลุ่มหนึ่งที่เป็นผู้ริ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น