แท็ก: คำด่า
หลุดพูด “เสือก” กลางที่ประชุมสภาฯ พ.ศ. 2526 ค้านกันวุ่นวายจนสุดท้ายต้องยอมถอน!...
การประชุมสภาผู้แทนราษฎรนับแต่อดีตมักปรากฏ "วาทะ" มากมาย ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายค้านหรือฝ่ายรัฐบาลก็ตาม หรือแม้แต่มีวลี "เสือก" ก็ผุดขึ้นกลางที่ประชุมสภาฯ ชุด...
“ไอ้ลูกหมา-ไอ้ห้าร้อย” เผยคำด่าภาษาจีนในบริบทไทย คนจีนฟังแล้ว “ไม่เจ็บ”
จะว่าไป คำด่า ในแต่ละภาษามีที่มาที่ไปแตกต่างกัน บางครั้งคำด่าภาษาจีนเมื่อแปลมาอยู่ในบริบทไทยแล้ว คนจีนฟังกลับ “ไม่เจ็บ” อย่างเช่นคำ "ไอ้ลูกหมา" หรือ "...
วัฒนธรรม “คำด่า” สมัยโบราณ ที่ขึ้นต้นด้วย “อี” มีทั้ง อีกาก, อีขี้เ-ด, อีร้อยค-ย...
หนังสือ อักขราภิธานศรับท์ ที่หมอบรัดเลย์ (Dan Beach Bradley) เป็นผู้รวบรวมและจัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2416 ได้รวบรวมคำในภาษาไทยไว้ราว 40,000 คำ และจัดคำ...
คำว่า “เจ๊ก” มาจากไหน? คนจีนในไทย-จีนแผ่นดินใหญ่-จีนไต้หวัน ล้วนไม่รู้จักคำนี้...
อ่านหนังสือ "การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนฯ" ของ ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ หน้าคำนำพิมพ์ครั้งแรกพูดถึงคำว่า เจ๊ก อธิบายไม่กระจ่าง ส่วน "เจ๊กปนลาว" ของคุณสุจ...
“อีคนสามแยก” คำด่าตกรุ่นที่วันนี้ คนโดนด่าอาจไม่เข้าใจและไม่เจ็บเท่าที่ควร
พูดถึงคำ “สามแยก” แล้ว ในสมัยนี้อาจมีปัญหาว่า “สามแยกไหน” เพราะเดี๋ยวนี้มันมีเยอะเหลือเกิน สามแยกเกษตร, สามแยกท่าพระ, สามแยกไฟฉาย ฯลฯ. แต่แต่ก่อนนี้ไม...
คนไทยด่ากันว่า “เหี้ย” ตั้งแต่เมื่อใด ย้อนดูคติความเชื่อ ทำไมคนจึงเกลียดเหี้ย?...
"เหี้ย" เป็นสัตว์ที่คนไทยนำมาใช้เป็นคำด่าหรือสบถ ปฐมเหตุมาจากพฤติกรรมขี้ขโมยของเหี้ย (ดังจะกล่าวต่อไป) จนต่อมาพัฒนากลายเป็นคำที่มีความหมายไม่ดีอยู่ในต...
ทำไมต้อง “โจรห้าร้อย” คำนี้เขียนเป็นตัวหนังสือไม่ใช่ตัวเลข เพราะเป็นสำนวน
มีคำถามว่าทำไมต้อง โจรห้าร้อย ? ความจริงคำว่า “ห้าร้อย” ในความหมายเดิมแท้นั้นไม่ได้หมายถึงหน่วยนับ หากหมายถึงการประมาณว่าจำนวนหนึ่งเท่านั้น
เพราะหน...
“ห่าจก-ห่ากิ๋นตั๊บ” ส่องวัฒนธรรมคำด่าตระกูล “ห่า” จากเหนือจรดใต้ อดีตถึงปัจจุบัน...
เป็นเรื่องน่าสนใจทีเดียวเมื่อนักวิชาการหรือผู้ศึกษาค้นคว้าด้านวัฒนธรรมประเภทต่างๆ มักบอกกันว่า "คำบริภาษผู้ที่ทำให้เราไม่พอใจนั้นมีอยู่ด้วยกันทุกชนชาต...
เรื่องของ “ส้น” และ “ด้าน” ทำไมจึงด่าว่า “หน้าส้นตีน” ด่ากันมานานอย่างน้อยเมื่อใ...
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 6 มิถุนายน 2543 มีคนมาทำบุญที่วัดใกล้บ้าน วันนั้น (เดือน 7 แรม 8 ค่ำ) เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า เรื่องที่คุยกันจึงเกี่...
การใช้คำว่า “สัตว์” และยก “สัตว์ไม่ประเสริฐ” ใช้เทียบเคียงในวัฒนธรรมคำด่าแบบไทยร...
ในบรรดาวัฒนธรรมทั้งปวง ภาษาคืออีกหนึ่งเครื่องมือในหมวดการสื่อสารในสังคมมนุษย์ที่มีพัฒนาการยาวนานต่อเนื่องมากเป็นอันดับต้นๆ การให้ความหมายกับคำในแง่การ...
วัฒนธรรม “คำด่า” (ในไทย) ทำไมต้อง “ดอกทอง”? คำสมัยก่อนเจ็บอย่างไร?...
เท่าที่เรียนรู้จากสังคมไทยสมัยเก่า พบว่ามีคำด่าแบบน่ารักน่าเอ็นดูอยู่ไม่น้อย เช่น สันขวาน หอกหัก บ้าบิ่น และก็มีที่นิยมด่าเป็นสำนวนโวหารแบบใช้ฝีมือทาง...
ด่าแบบจีน “เก๋าเจ้ง-บ่มิไก๊” ถึง “เฮงซวย-ฮวนนั้ง” ส่องความเป็นมาคำจีนสยามเชิงดูถ...
ภาษาไม่เพียงแต่เป็นเครื่องมือสื่อสารปฏิสัมพันธ์อันสำคัญของมนุษย์เท่านั้น แต่ยังสะท้อนแง่มุมต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะอารมณ์ ภาษาที่ใช้สื่อสารในยา...