แท็ก: คนจีน
“กบฏจีนนายก่าย” วางแผนปล้นวังหลวงสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
“กบฏจีนนายก่าย” การกบฏครั้งสำคัญของ “ชาวจีน” ในสมัย กรุงศรีอยุธยา นับเป็นเหตุการณ์ใหญ่ช่วงต้นแผ่นดิน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
มูลเหตุของกบฏสืบย้อ...
“แซ่” นามสกุลของคนจีนมีที่มาจากไหน “แซ่” บอกอะไร
ภาษาจีนมีคำที่แปลว่า “นามสกุล” ใช้แพร่หลาย 2 คำ คือ แซ่ (姓) กับ สี (氏) ในสมัยโบราณ มีความหมายต่างกัน ใช้แทนกันไม่ได้ แซ่ คือโคตรวงศ์เก่าแต่โบราณ สี คื...
ศาลเจ้าไม่ได้มีดีแค่ขอพร แต่สอนเรื่องฮวงจุ้ย
นอกจากไหว้เจ้าที่บ้านแล้ว ท่านตั้งใจจะไปไหว้เจ้าที่ไหนกันบ้าง มิได้ เราไม่ได้มาชวนให้ท่านไปไหว้เจ้า 9 ศาล เพราะศรัทธาความเชื่อเป็นเรื่องส่วนบุคคล แต่อ...
หลวงวิจิตรฯ-พระยาอนุมานฯ สองลูกจีนกับนโยบาย “กลืนกลายจีนให้เป็นไทย”
“กลืนกลายจีนให้เป็นไทย” เป็นนโยบาย ช่วงที่ จอมพล ป. อยู่ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย (พ.ศ. 2481-2487 และ พ.ศ. 2491-2500) ประเทศและรัฐบาลต้องเผชิญกับกา...
คำว่า “เจ๊ก” มาจากไหน? คนจีนในไทย-จีนแผ่นดินใหญ่-จีนไต้หวัน ล้วนไม่รู้จักคำนี้...
อ่านหนังสือ "การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนฯ" ของ ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ หน้าคำนำพิมพ์ครั้งแรกพูดถึง คนจีน ด้วย คำว่า เจ๊ก อธิบายไม่กระจ่าง ส่วน "เจ๊กปนลา...
ทำไมคนจีน [แต้จิ๋ว] ชอบค้าขาย มากกว่าทำราชการ
ทำไม!? คนจีนแต้จิ๋ว ชอบค้าขาย มากกว่าทำราชการ
ค่านิยมตามวัฒนธรรมขงจื๊อถือว่า “การทั้งปวงล้วนต่ำต้อย สูงส่งอยู่แต่การศึกษา” โดยแบ่งคนเป็น 4 ชนชั้น ค...
“เยาวราช” พิพิธภัณฑ์ (มี) ชีวิตจีนโพ้นทะเล
บทนำ
“เยาวราช” เป็นชื่อถนนสายหนึ่ง ในเขตสัมพันธวงศ์ หากฐานะที่แท้จริง เยาวราชคือชุมชนจีนโพ้นทะเลเก่าแก่ขนาดใหญ่ในเมืองไทย เยาวราชที่จะกล่าวถึงต่อไปใน...
“เฉ่ง” คำจีนที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดจากการ “ด่า” แต่มาจากการเก็บภาษีช่วงต้นรัตนโกสิน...
“เฉ่ง” ตามที่พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายไว้นั้น เป็นคำกริยา มีความหมายว่า ชำระเงินที่ติดค้างกันอยู่และด่า ว่า หรือทำร้ายร่างกาย แต่ถ้าหา...
“ใบพลู” พืชที่ชาวสยามใช้ทั่วบ้านทั่วเมือง เคยจะถูกชาวจีนเก็บภาษี แต่ ร.4 ทรงห้าม...
“ใบพลู” เป็นพืชพันธุ์ชนิดหนึ่งที่ชาวสยามมักใช้ในชีวิตประจำวัน จนชาวจีนเคยร่วมมือกับข้าราชการฝ่ายในฝ่ายนอกยื่นขอเก็บ “ภาษีใบพลู” ต่อพระบาทสมเด็จพระจอมเ...
ทำไม “ข้าวต้มกุ๊ย” เมนูขวัญใจชาวโต้รุ่งถึงเคยเป็น “อาหารคนจน”?
ข้าวต้มกุ๊ย อาหารยอดฮิตยามค่ำคืนที่ได้รับความนิยมอย่างมากในสังคมไทย ประกอบด้วยข้าวเมล็ดนิ่มในน้ำซุปสีใสบ้าง เขียวบ้าง ตามวัตถุดิบที่เลือกสรร พร้อมกับต...
เส้นทาง “น้ำปลา” ไทย นิยมแพร่หลายด้วยพลังชาวแต้จิ๋ว
เชื่อว่าคนไทยมีวัฒนธรรมการบริโภค น้ำปลา มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว เพียงแต่ไม่พบหลักฐานความนิยมของวัฒนธรรมนี้ว่าแพร่หลายมากน้อยเพียงใด ณ ช่วงเวลาน...
ความสัมพันธ์ระหว่าง “จีนจน-จีนรวย” เป็นอย่างไร เมื่อหมดยุคกงสี
เมื่อพูดถึง “คนจีน” ที่มาทำมาหากินในเมืองไทย มักจะมีคำขวัญว่า “ขยัน ประหยัด อดทน” ตามความสำเร็จในทางธุรกิจร่ำรวย และเป็น “เจ้าสัว” แต่ความจริงในหมู่คน...