เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก คนจีน

แท็ก: คนจีน

ศาลเจ้า

ศาลเจ้าไม่ได้มีดีแค่ขอพร แต่สอนเรื่องฮวงจุ้ย

นอกจากไหว้เจ้าที่บ้านแล้ว ท่านตั้งใจจะไปไหว้เจ้าที่ไหนกันบ้าง มิได้ เราไม่ได้มาชวนให้ท่านไปไหว้เจ้า 9 ศาล เพราะศรัทธาความเชื่อเป็นเรื่องส่วนบุคคล แต่อ...
พระยาอนุมานราชธน

หลวงวิจิตรฯ-พระยาอนุมานฯ สองลูกจีนกับนโยบาย “กลืนกลายจีนให้เป็นไทย”

“กลืนกลายจีนให้เป็นไทย” เป็นนโยบาย ช่วงที่ จอมพล ป. อยู่ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย (พ.ศ. 2481-2487 และ พ.ศ. 2491-2500) ประเทศและรัฐบาลต้องเผชิญกับกา...
คนจีนแต้จิ๋ว มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง

ทำไมคนจีน [แต้จิ๋ว] ชอบค้าขาย มากกว่าทำราชการ

ทำไม!? คนจีนแต้จิ๋ว ชอบค้าขาย มากกว่าทำราชการ ค่านิยมตามวัฒนธรรมขงจื๊อถือว่า “การทั้งปวงล้วนต่ำต้อย สูงส่งอยู่แต่การศึกษา” โดยแบ่งคนเป็น 4 ชนชั้น ค...
เยาวราช ถนนเยาวราช

“เยาวราช” พิพิธภัณฑ์ (มี) ชีวิตจีนโพ้นทะเล

บทนำ “เยาวราช” เป็นชื่อถนนสายหนึ่ง ในเขตสัมพันธวงศ์ หากฐานะที่แท้จริง เยาวราชคือชุมชนจีนโพ้นทะเลเก่าแก่ขนาดใหญ่ในเมืองไทย เยาวราชที่จะกล่าวถึงต่อไปใน...
ภาพ ชาวบ้าน จิตรกรรม วัดเขียน จังหวัดอ่างทอง

“เฉ่ง” คำจีนที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดจากการ “ด่า” แต่มาจากการเก็บภาษีช่วงต้นรัตนโกสิน...

“เฉ่ง” ตามที่พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายไว้นั้น เป็นคำกริยา มีความหมายว่า ชำระเงินที่ติดค้างกันอยู่และด่า ว่า หรือทำร้ายร่างกาย แต่ถ้าหา...
ใบพลู เชี่ยนหมาก

“ใบพลู” พืชที่ชาวสยามใช้ทั่วบ้านทั่วเมือง เคยจะถูกชาวจีนเก็บภาษี แต่ ร.4 ทรงห้าม...

“ใบพลู” เป็นพืชพันธุ์ชนิดหนึ่งที่ชาวสยามมักใช้ในชีวิตประจำวัน จนชาวจีนเคยร่วมมือกับข้าราชการฝ่ายในฝ่ายนอกยื่นขอเก็บ “ภาษีใบพลู” ต่อพระบาทสมเด็จพระจอมเ...
เยาวราช ถนนเยาวราช

ความสัมพันธ์ระหว่าง “จีนจน-จีนรวย” เป็นอย่างไร เมื่อหมดยุคกงสี 

เมื่อพูดถึง “คนจีน” ที่มาทำมาหากินในเมืองไทย มักจะมีคำขวัญว่า “ขยัน ประหยัด อดทน” ตามความสำเร็จในทางธุรกิจร่ำรวย และเป็น “เจ้าสัว” แต่ความจริงในหมู่คน...

ทำไมฝรั่งเปรียบชาวสยาม “ขี้เกียจ-เฉื่อยชา-ไม่ค่อยได้เรื่อง” ต่างจากคนจีน?...

ขี้เกียจ เฉื่อยชา ไม่ค่อยได้เรื่อง เป็นกลุ่มคำที่ครั้งหนึ่งฝรั่ง “นิยาม” พฤติกรรมของชาวสยาม ขณะเดียวกันก็เปรียบเทียบว่าต่างจากคนจีนที่ดูเอาการเอางาน ข...

ชาวจีนอพยพใหม่ เหมือน-แตกต่าง จากชาวจีนโพ้นทะเลอย่างไร?

ชาวจีนอพยพมาประเทศไทย ตั้งแต่สมัยอยุธยา ซึ่งส่วนใหญ่อพยพมาจาก 3 มณฑลชายทะเล คือ กวางตุ้ง, ไหหลำ และฮกเกี้ยน ด้วยเหตุผลเรื่องภัยธรรมชาติ, ปัญหาการเมือง...

คนจีน พ่อค้าจีน ทุนจีน ในทัศนะกรมดำรงฯ

ในหนังสือ “สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ การสร้างอัตลักษณ์ ‘เมืองไทย’ และ ‘ชั้น’ ของชาวสยาม” (สนพ.มติชน, 2546) ของสายชล สัตยานุรักษ์ ที่แสดงให้เห็นว่า...

“ไอ้ลูกหมา-ไอ้ห้าร้อย” เผยคำด่าภาษาจีนในบริบทไทย คนจีนฟังแล้ว “ไม่เจ็บ”

จะว่าไป คำด่า ในแต่ละภาษามีที่มาที่ไปแตกต่างกัน บางครั้งคำด่าภาษาจีนเมื่อแปลมาอยู่ในบริบทไทยแล้ว คนจีนฟังกลับ “ไม่เจ็บ” อย่างเช่นคำ "ไอ้ลูกหมา" หรือ "...

ทัศนคติของจีนโพ้นทะเลรุ่นบุกเบิกที่ควรปฏิบัติต่อคนจีนด้วยกัน

ถ้าย้อนหลังไปประมาณ 40-50 ปีก่อนเป็นต้นไป สังคมของคนไทยเชื้อสายจีน หรือลูกหลาน จีนโพ้นทะเล ในไทย (และน่าจะร่วมถึงพื้นที่อื่น) พบว่าแต่ละชุมชนมักจะเป็น...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น