เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก ขุนช้างขุนแผน

แท็ก: ขุนช้างขุนแผน

ขุนแผน สังหาร นาง บัวคลี่

“บัวคลี่” เหยื่อของการชิงดีชิงเด่นระหว่าง “พ่อ” กับ “ผัว” ในขุนช้างขุนแผน

“บัวคลี่” เหยื่อของการชิงดีชิงเด่นระหว่าง “พ่อ” กับ “ผัว” ใน "ขุนช้างขุนแผน" คนไทยที่เรียนหนังสือในเมืองไทยคงจะไม่มีใครไม่รู้จัก “ขุนแผน” พระเอกเจ้าเ...

“หุ่นพยนต์” มนตราแห่ง “ขุนช้างขุนแผน” ศาสตร์ไม้เด็ดเปลี่ยนหุ่นหญ้าเป็นกองทัพสุด ...

“หุ่นพยนต์” หมายถึง “รูปที่ผู้ทรงวิทยาคมเอาวัตถุมาผูกขึ้นแล้วเสกเป่าให้เป็นเหมือนรูปที่มีชีวิต” โดยคำว่า พยนต์ (อ่านว่าพะยน) หมายถึง “สิ่งที่ผู้ทรงวิท...

“ขุนช้างขุนแผน” จากนิทานพื้นบ้าน สู่วรรณกรรมราชสำนัก การแต่งเติมเรื่องราวฉบับพิส...

"เสภาขุนช้างขุนแผน" ประกอบด้วย "เค้าเรื่องเดิม" และ "ภาคพิสดาร" ซึ่งมี 3 ภาค "เค้าเรื่องเดิม" เป็นนิทานเรื่องเล่าเกี่ยวกับรักสามเส้าของสามัญชนชาย 2 หญ...

ขุนแผน “พระเอกในอุดมคติ” หรือ “ผู้ร้ายที่แฝงตัวในคราบพระเอก”

มองต่างกันคนละมุม : ขุนแผน พระเอกในอุดมคติ / ขุนแผน ผู้ร้ายที่แฝงตัวในคราบพระเอก เหตุผลข้อหนึ่งที่น่าจะหยิบยกมาพิจารณาเป็นลำดับแรกเกี่ยวกับความนิยมบ...

นางแก้วกิริยา ในขุนช้างขุนแผน ถูก “ละเมิด-(ข่ม)ขืนกาย” แต่ถูกทำให้จำยอม!?...

นางแก้วกิริยา ธิดาพระยาสุโขทัยกับนางเพ็ญจันทร์ ในเรื่องขุนช้างขุนแผน ผู้ถูกบิดานำตัวมาขายฝากไว้กับขุนช้างเพื่อนำเงิน 15 ชั่งไปชำระหลวง พระยาสุโขทัยให้...

“บทอัศจรรย์” คือบทอะไร? ทำไมต้องมี? มีเมื่อไร?

บทอัศจรรย์คือคำบรรยายความรู้สึกขณะร่วมเพศด้วยความเปรียบเทียบ (ซึ่งไม่มีทางอื่นที่จะอธิบายไม่ให้หยาบคายได้) ส่วนเปรียบเทียบกับอะไรก็แล้วแต่ประสบการณ์แล...
ภาพวาด "ขุนแผนทำพิธีตั้งจิตภาวนา นั่งย่างกุมารทอง" จิตรกรรมฝาผนังเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน ที่ระเบียงคดรอบวิหารหลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์ จังหวัดสุพรรณบุรี เขียนโดย เมืองสิงห์ จันทร์ฉาย

“ขุนช้างขุนแผน” เรื่องไม่มีจริง แต่เป็นนิทาน วรรณกรรม “ผู้ดี” กระฎุมพี

ขุนช้างขุนแผน มีกำเนิดและพัฒนาการเป็น “นิทาน” ของรัฐสุพรรณภูมิ ขุนช้างขุนแผนที่รู้จักปัจจุบันเป็น วรรณกรรม “ผู้ดี” กระฎุมพี ไม่ใช่วรรณกรรมสะท้อนชีวิตช...

35 เดนตาย กลุ่มโจรผู้ยิ่งใหญ่ในขุนช้างขุนแผน

บทความนี้คัดย่อจาก “35 เดนตาย กลุ่มโจรผู้ยิ่งใหญ่ในขุนช้างขุนแผน” ที่สุจิตต์ วงษ์เทศ เขียนไว้ในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม พฤษภาคม 2540 ที่เรียกว่า "โจรผู้ยิ่...

“น้ำ” ในวรรณคดีทำให้เรื่อง “เพศ” ที่เป็นมุมปกปิด กลายเป็นเรื่องไม่ลับได้อย่างไร?...

เมื่อกล่าวถึง “น้ำ” ก็จะนึกถึงสิ่งที่นำมาใช้ดื่ม ใช้ชำระล้างร่างกายให้สะอาด รวมถึงสิ่งที่หล่อเลี้ยงชีวิตมนุษย์ให้อยู่รอด เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของก...

ดาบฟ้าฟื้น…นะจ๊ะ ไม่ใช่ “อีโต้”

พูดถึงคาบฟ้าฟื้น ก็ทราบกันทั่วไปอยู่แล้ว ว่าเป็นดาบของขุนแผนพระเอกอมตะในวรรณคดี เมื่อรู้กันอยู่แล้ว เหตุใดจึงต้องมาพูดถึงกันอีก ก็ต้องขออภัยหากว่าก...

“ดาบฟ้าฟื้น” ของขุนแผน ได้ชื่อจากบรรพชนลาว “อาวุธวิเศษผีฟ้าพญาแถน”

เหล็กที่ใช้ตี ดาบฟ้าฟื้น มีส่วนผสมเป็นเหล็กจากเหมือง 2 แห่งที่ใช้เพื่อสร้างพระราชกกุธภัณฑ์ และเหล็กจากยอดปราสาทของพระมหาราชวัง ขุนแผนเรียกดาบนี้ว่า ดา...

วิจารณ์ชีวิตนางศรีประจัน : สีสันตัวละครแม่ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน

เป็นเวลายาวนานหลายศตวรรษที่ความนิยมเสภาเรื่องขุนข้างขุนแผนด้วยเป็นเรื่อง “สนุกจับใจ” ดังที่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวไว้ใน...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น