แท็ก: การแพทย์
รากฐานการแพทย์-สาธารณสุขไทย จากยุคกรมหมอหลวง สู่โรงพยาบาลที่ราษฎรเข้าถึง
การแพทย์-สาธารณสุขไทย จากยุคกรมหมอหลวง สู่โรงพยาบาลที่ราษฎรเข้าถึง
ระบบการสาธารณสุขของประเทศไทย ได้รับการยกย่องว่ามีความเข้มแข็ง เป็นอันดับต้นๆ ของโล...
เส้นทางการ “ปลูกฝี” ป้องกันฝีดาษในอดีต ช่วยบรรเทาฝีดาษลิงในปัจจุบัน?
เส้นทางการ “ปลูกฝี” ป้องกัน "ฝีดาษ" ในอดีต ช่วยบรรเทา "ฝีดาษลิง" ในปัจจุบัน?
การระบาดของโรคฝีดาษลิง (เมื่อพฤษภาคม 2565) พบผู้ติดเชื้อใน 17 ประเทศ ได้...
สืบจากศพ เคส “ไส้ติ่ง” พลิกวงการแพทย์ เมื่อ 300 ปีก่อน!
ชายชราชาวอิตาลีคนหนึ่งปวดท้องต่อเนื่องหลายวัน และมีอาการปวดรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ เขาจึงตัดสินใจรุดไปพบแพทย์ประจำเมือง แต่ก็เสียชีวิตอย่างกะทันหันในคืนวัน...
วิธีตรวจคนเสียจริต ของหมอไทยสมัยรัชกาลที่ 5
การตรวจคน “เสียจริต” หรือโรคจิต ของหมอไทยสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ล้ำหน้าหมอฝรั่ง
ในเอกสารกลุ่มสาธารณสุข สมัยรัชกาลที่ 5 จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ (หจช.ร.5...
“คนใช้” บ้านเจ้าพระยา คนไทยคนแรกๆ ที่ได้ “ถอนฟัน” ด้วยวิทยาการตะวันตก...
การถอนฟันด้วยวิทยาการตะวันตก เข้าสู่สยามเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 ถูกนำมาเข้ามาโดยพวก มิชชันนารี ซึ่ง คนใช้ บ้านเจ้าพระยา (อาจ) เป็นคนไทยคนแรก ๆ ท...
ต่อกระดูก-วางยาพิษ-ใช้ยาสั่ง โนว์ฮาวปราชญ์ชาวบ้านเมืองสุรินทร์ในอดีต
การต่อกระดูก เคลื่อนย้ายเส้นเอ็น และใช้ยาพิษต่าง ๆ ที่เคยได้เห็นได้ยินในภาพยนตร์จีนกำลังภายในบ่อยครั้ง และบางเรื่องก็มีอยู่จริง แต่มันไม่ใช่แค่จริงในป...
ย้อนดูที่มา การบริจาคเลือดของไทย ใครคือผู้บริจาคหมายเลข 1
“การให้เลือด” หรือ “การบริจาคเลือด” คือความท้าทายในวงการแพทย์ทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ ที่จะช่วยเพิ่มโอกาสรอดชีวิตกับผู้ป่วยจำนวนมาก
การศึกษาเกี...
การรับมือโรคระบาดสมัย ร.5 รัฐยุคใหม่เลิกไล่ผี-พิธีสวด เปลี่ยนมาใช้การแพทย์ตะวันต...
"โรคระบาด" เกิดขึ้นทุกยุคทุกสมัย แต่ละชุมชน แต่ละรัฐ ก็มีวิธีจัดการแตกต่างกันไป เช่นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ไม่ทรงเชื่อว่าพิธีอาพาธพินาศมาจากพระพุทธเ...
เลือดกรุ๊ปบีหรือเปล่า? ประวัติการค้นพบ “หมู่เลือด” ที่พลิกวงการแพทย์...
อย่างที่ทราบกันว่า กรุ๊ปเลือด ในร่างกายของคนเราแบ่งได้ 4 หมู่ คือ เอ (A) บี (B) โอ (O) และ เอบี (AB) การแบ่งดังกล่าวเรียกว่า ระบบกรุ๊ปเลือดเอบีโอ (ABO...
ประวัติการผ่า “ไส้ติ่ง” เกือบร้อยปีที่ผ่ากันสด ๆ แบบไม่ใช้ยาสลบ!
ถ้าเอ่ยถึง “สิ่งเล็ก ๆ” ที่ไม่ได้เรียกว่า “รัก” แต่มีรูปร่างเหมือนหนอน ห้อยเป็นติ่งอยู่ข้างลำไส้ใหญ่ คงจะเป็นอะไรไปไม่ได้ นอกจาก ไส้ติ่ง (Appendix) แต...
“พลาสมา(น้ำเลือด)” นวัตกรรมทางการแพทย์ที่ช่วยชีวิตทหารในสงครามโลกครั้งที่ 2
ในบรรดานวัตกรรมทางการแพทย์ที่กรมแพทย์ทหารบกของสหรัฐฯ นําไปใช้ประโยชน์จนสามารถช่วยชีวิตทหารได้นั้น จัดได้ว่าของเหลวสีเหลืองในเลือดหรือ “พลาสมา” มีความส...
กำเนิด “รพ.จุฬาลงกรณ์” 30 พ.ค. 2467 ที่แรกตั้งคือ “รพ.อุณาโลมแดง”
วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไปทรงเปิด “โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย” โรงพยาบาลที่สร้างขึ้นเป็นพระบรมราช...