แท็ก: การศึกษา
“หัวลำโพง ฝรั่งเรียกไม่ชัด ไทยพลอยเรียกตามว่า วัวลำพอง” พระราชวิจารณ์ศัพท์ไทย-ฝร...
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชหัตถเลขาถึงเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เมื่อครั้งยังเป็นที่พระยาไ...
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย การเปลี่ยนแปลงการศึกษาของเจ้านายสตรี
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสังคม, องค์กร, บุคคล, สิ่งของ ฯลฯ ที่มีขนาดใหญ่ มีความสำคัญ มี... ย่อมทำให้เกิดการผลกระทบกับ “...เล็ก” ในระดับรองๆ ลงมาเสมอ หา...
เหตุที่รัชกาลที่ 5 ทรง “รู้สึกคันอยู่ในเนื้อหนาๆ เช่น ซ่นเท้า” จากปมเรื่องการศึก...
“--นี่เหลือที่จะอดกลั้น รู้สึกคันอยู่ในเนื้อที่หนา ๆ เช่น ซ่นเท้า เกาไม่ถึงก็ปานกัน--"
เป็นวาทะตอนหนึ่งในลายพระราชหัตถเลขา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเ...
“เรือรบสำคัญกว่าชีวิตคนเชียวรึ” รู้จัก มิส คอลฟิลด์ ผู้บุกเบิกการศึกษาคนตาบอดในไ...
ก่อนปี 2482 สังคมไทยไม่เคยเห็นคนตาบอดปรากฏกายบนท้องถนน บนรถโดยสารและตามสถานที่ต่างๆ เช่นปัจจุบันนี้ สมัยโน้นคนตาบอดส่วนใหญ่มักถูกเก็บไว้ในบ้าน เพราะผู...
ฉ.ฉิ่งไม่ได้ตีดัง และ ช.ช้างไม่ได้วิ่งหนีเสมอไป : ความหมายของ “ก.ไก่” ที่เปลี่ยน...
ก.เอ๋ย ก.ไก่ ข.ไข่ ในเล้า บทท่องจำพยัญชนะไทยที่คนในรุ่นหนึ่งคุ้นเคยกันดี และท่องกันได้จนถึงถึง ฮ.นกฮูกตาโตแต่คนในอีกสมัยหนึ่งก็ไม่ได้ท่องแบบนี้เสมอไป
...
“ระบบการศึกษา” เครื่องมือผนวก “ล้านนา” ให้กลายเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 6...
ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในสยามกำเนิดรัฐแบบใหม่ที่บริหารงานแบบรวมศูนย์ ทำให้จำเป็นต้องสลายอำนาจท้องถิ่นเพื่อดึงทรัพยากรและผู้คนมาเป็นของรัฐบาลส่วนกลาง สำหร...
กำเนิด “เสรีไทยสายนิสิตจุฬาฯ” หน่วยอาสากว่า 300 คน ทำเพื่อเอกราช-อธิปไตยไทย...
ในห้วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่ประเทศไทยเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 เนื่องด้วยกำลังทหารที่มีจำกัดและเหตุปัจจัยอื่นๆ รัฐบาล จอมพล ...
ความเห็นเรื่องวิชาหัดเด็ก : กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ใน "ประชุมพระนิพนธ์เบ็ดเตล็ด" (องค์การค้าคุรุสภา, พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2504) พระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ บทความหนึ่งในพระนิพนธ์ดังกล่...
“ประวัติศาสตร์ชาติไทย” ประวัติศาสตร์ของใคร? วิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาติไทยฉบับราชกา...
เมื่อหนังสือเล่มนี้ (ประวัติศาสตร์ชาติไทย - กองบรรณาธิการ) พิมพ์ออกเผยแพร่เมื่อปลายเดือนตุลาคม 2558 นั้น ได้มีนักวิชาการทางประวัติศาสตร์ไทยคนสำคัญ คือ...
การจัดการศึกษาสมัยใหม่ยุคร.5 ชาวบ้าน-พระยังต้านใช้ศาลาวัดเป็นที่สอนหนังสือ
“---ถึงเจ้าสนั่น ข้าจะบอกลาภให้ วัดมีศาลาการเปรียญทุกวัด จงเอาศาลานั่นแหละเป็นโรงเรียน---”
เป็นข้อความตอนหนึ่งในพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุ...
ยิ่งอ่านยิ่งงง! โจทย์เลขของคนไทยสมัยโบราณยาวนับสิบบรรทัด ลองแก้กันดู
คณิตศาสตร์ไทยโบราณรับมาจากอินเดียโดยตรงเพราะมีคำศัพท์ที่สืบสายถึงกันได้ สาเหตุน่าจะมาจากความใกล้ชิดกันทางวัฒนธรรมผ่านศาสนาและการค้า คนไทยได้นำคณิตศาสต...
ปมการศึกษาแบบกดหัวให้เชื่อฟัง ต้นเหตุสู่เพลงอมตะ “Another Brick in the Wall, Par...
บรรดาผลงานเชิงศิลป์ในวัฒนธรรมร่วมสมัยรอบศตวรรษมานี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ "การศึกษา" มากมาย หากพูดถึงผลงานในรูปแบบ "บทเพลง" มีไม่มากนักที่ได้รับความนิยมถึ...