เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 24 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก การศึกษา

แท็ก: การศึกษา

ย้อนดูการศึกษาจากมีวัดเป็นโรงเรียน มีพระเป็นครู

เมื่อ พ.ศ. 2441 รัชกาลที่ 5 มีพระราชดำริปฏิรูปการศึกษา ได้ทรงจัดการการศึกษาขั้นต้นให้กับประชาชนทั่วไป และทรงตัดสินพระทัยให้อยู่ในความรับผิดชอบของสมเด็...

พระองค์เจ้าดิลกฯ “ดอกเตอร์พระองค์แรก” แห่งราชวงศ์จักรี

ณ มหาวิทยาลัยทึบบิงเงน มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่ตั้งอยู่ที่เมืองทึบบิงเงน ทางตอนใต้ของเยอรมนี ปี พ.ศ. 2450 มีพระราชโอรสของกษัตริย์ 2 พระองค์กับปริญญาระดับ...

ฮิตเลอร์รื้อ-สร้างการศึกษา ปลูกฝัง “ยุวชนฮิตเลอร์” สู่พลเมืองนาซีที่ภาคภูมิชาติอ...

“ชาติเยอรมันเหนืออื่นกว่าชาติใด หรือ Deutschland über alles” คือท่อนหนึ่งของเพลงชาติเยอรมนีในสมัยที่ฮิตเลอร์และพรรคนาซีปกครองประเทศนี้ ครั้งหนึ่งชาวเย...

‘เครือมติชน’ หนุนการศึกษา ปรับปรุงโรงเรียน-ส่งเสริมการอ่าน พัฒนาคุณภาพชีวิตเยาวช...

ช่วงพักเที่ยง คือเวลาที่เด็กๆ ชั้นอนุบาล 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดมณีโชติ (เทียมประชานุเคราะห์) ต. คลองข่อย อ. โพธาราม จ. ราชบุรี จะได้เล่นสน...

ข้าไม่เป็นห่วงการปั้นนักเรียน ‘ชั้นมัธยม’ ให้เป็นเทวดาเหมือนกันหมดทุกคน

“ข้าไม่เป็นห่วงการปั้นนักเรียน ‘ชั้นมัธยม’ ให้เป็นเทวดาเหมือนกันหมดทุกคน ได้คะแนนกันคนละหลายพันคะแนน เท่ากับสร้างเด็กหนุ่มที่ขยันขันแข็ง และสะอาดทั้งท...

“หัวลำโพง ฝรั่งเรียกไม่ชัด ไทยพลอยเรียกตามว่า วัวลำพอง” พระราชวิจารณ์ศัพท์ไทย-ฝร...

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชหัตถเลขาถึงเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เมื่อครั้งยังเป็นที่พระยาไ...

การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย การเปลี่ยนแปลงการศึกษาของเจ้านายสตรี

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสังคม, องค์กร, บุคคล, สิ่งของ ฯลฯ ที่มีขนาดใหญ่ มีความสำคัญ มี... ย่อมทำให้เกิดการผลกระทบกับ “...เล็ก” ในระดับรองๆ ลงมาเสมอ หา...

เหตุที่รัชกาลที่ 5 ทรง “รู้สึกคันอยู่ในเนื้อหนาๆ เช่น ซ่นเท้า” จากปมเรื่องการศึก...

“--นี่เหลือที่จะอดกลั้น รู้สึกคันอยู่ในเนื้อที่หนา ๆ เช่น ซ่นเท้า เกาไม่ถึงก็ปานกัน--" เป็นวาทะตอนหนึ่งในลายพระราชหัตถเลขา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเ...

“ไฟไหม้ไม่ต้องเก็บเครื่องเพชร เก็บหนังสือก่อน” เบื้องหลังรับสั่งเจ้านายที่รักหนั...

“...ถ้าเกิดไฟไหม้ไม่ต้องเก็บเครื่องเพชร ให้เก็บหนังสือก่อน...” เป็นพระราชดำรัสที่แสดงถึงความรักหนังสือของสมเด็จพระราชปิตุฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวง...

“เรือรบสำคัญกว่าชีวิตคนเชียวรึ” รู้จัก มิส คอลฟิลด์ ผู้บุกเบิกการศึกษาคนตาบอดในไ...

ก่อนปี 2482 สังคมไทยไม่เคยเห็นคนตาบอดปรากฏกายบนท้องถนน บนรถโดยสารและตามสถานที่ต่างๆ เช่นปัจจุบันนี้ สมัยโน้นคนตาบอดส่วนใหญ่มักถูกเก็บไว้ในบ้าน เพราะผู...

ฉ.ฉิ่งไม่ได้ตีดัง และ ช.ช้างไม่ได้วิ่งหนีเสมอไป : ความหมายของ “ก.ไก่” ที่เปลี่ยน...

ก.เอ๋ย ก.ไก่ ข.ไข่ ในเล้า บทท่องจำพยัญชนะไทยที่คนในรุ่นหนึ่งคุ้นเคยกันดี และท่องกันได้จนถึงถึง ฮ.นกฮูกตาโตแต่คนในอีกสมัยหนึ่งก็ไม่ได้ท่องแบบนี้เสมอไป ...

“ระบบการศึกษา” เครื่องมือผนวก “ล้านนา” ให้กลายเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 6...

ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในสยามกำเนิดรัฐแบบใหม่ที่บริหารงานแบบรวมศูนย์ ทำให้จำเป็นต้องสลายอำนาจท้องถิ่นเพื่อดึงทรัพยากรและผู้คนมาเป็นของรัฐบาลส่วนกลาง สำหร...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น